แนวข้อสอบนักวิชาการ (งานวิชาการและยุทธศาสตร์) ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม : https://www.แนวข้อสอบราชการไทย.com/webboard/viewtopic/327
1. ที่กล่าวว่า...การที่จะวางนโยบายเรื่องอะไรขึ้นมาก็ตามต้นเหตุจะต้องเกิดขึ้นมาจากอะไร?
ก. ตัวของนโยบาย
ข. ตัวของสื่อมวลชน
ค. ตัวของผู้วางนโยบาย
ง. ตัวของคณะกรรมการวางนโยบาย
จ. ตัวของปัญหา
2. ที่กล่าวว่า...ความสำคัญของการวางนโยบายนั้นจะต้องอาศัยส่วนประกอบเป็นหลัก?
ก. POLICY – MARKING
ข. COMMUNICATION
ค. SOCIAL PROBLEMS
ค. DECISION – MAKING
จ. ECONOMICS POLICY
3. ที่กล่าวว่า... POLICY – MARKING นั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการบริหารงานเท่านั้นคือ?
ก. POLITIC PROCESS
ข. ECONOMIC PROCESS
ค. POLICY PROCESS
ง. PLANNING PROCESS
จ. DECISION PROCESS
4. ที่กล่าวว่า...วิธีการทำการศึกษานโยบายของรัฐนั้น จะต้องมุ่งศึกษาในลักษณะใดบ้าง?
ก. DICISION MARKING
ข. DESCRIPTIVE STUDY
ค. GROUPS STUDY
ค. RATIONAL STUDY
จ. POLICY STUDY
5. ที่กล่าวว่า...ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ PUBLIC ADMINISTRATION นั้นได้แก่ศาสตร์อะไรบ้าง?
ก. POLICY SCIENCE
ข. POLICY – MARKING KNOLEDGE
ค. POLCY – ISSUE KNOWLEDGE
ง. DECISION SCIENCE
จ. EDUCATION SCIENCE
6. รัฐบาลปัจจุบันนี้ได้มีแนวนโยบายที่จะสร้างงานในชนบทให้แก่เกษตรกรชนบทมีเศรษฐกิจดี?
ก. นโยบาย
ข. การบริหาร
ค. การเมือง
ง. เศรษฐกิจชนบท
จ. สังคมชนบท
7. กระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ ก็ถือเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับนโยบายศาสตร์ผู้ให้ความสนใจในเรื่องนี้ คือใคร?
ก. CARLES E. LINDBLOM
ข. PAUL H. APPLEBY
ค. CHESTER I. BARNARD
ง. WILLIAM GREENWOOK
จ. HAROLD LASSWELL
8. กระบวนการกำหนด นโยบายของรัฐ เป็นกระบวนการทางการเมืองซึ่งเป็นเรื่องของความขัดแย้งการต่อสู้การต่อรองผู้ให้ความสนใจและบุกเบิกแนวความคิดนี้คือใคร?
ก. CHESTER I. BARNARD
ข. DWGHT WALDO
ค. PAUL H. APPLEBY
ง. CHARLES E. LINDBLOM
จ. WILLIAM GREENWOOD
9. ที่กล่าวว่า...การบริหารงานนั้นก็คืองานทางสรีรศาสตร์ ในทางวิชาแพทย์ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติงานโดยเฉพาะส่วนองค์การนั้นก็คือ กายวิภาคศาสตร์ เจ้าของทฤษฎีคือใคร?
ก. KEITH M. HANDERSON
ข. PAUL H. APPLYEBY
ค. DWIGHT WALDO
ง. ALFRED D. GRAZIA
จ. CHESTER I. BARNARD
10. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแผนและโครงการได้ดีที่สุด?
ก. แผนประกอบด้วยโครงการที่สอดคล้องกันหลายๆโครงการ
ข. โครงการทั้งหลายเป็นส่วนประกอบย่อยๆของแผน
ค. แผนจะกำหนดแนวทาง ส่วนโครงการจะนำแนวทางไปกำหนดรายละเอียดในการดำเนินการ
ง. โครงการถือเป็นบันไดขั้นแรกเพื่อจะวางเป็นแผนต่อไป
จ. โครงการทุกโครงการคือแผน
11. โครงการทุกโครงการจำเป็นต้องสอดคล้องกับอะไรบ้าง?
ก. กับนโยบายและแผน
ข. กับแผนและงาน (JOB)
ค. กับโครงการและงาน
ง. กับงานและกิจกรรม (ACTIVITY)
จ. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
12. ข้อใดไม่ใช่หลักการที่ดีของโครงการ?
ก. ต้องประเมินผลได้
ข. ต้องมีวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจน
ค. ต้องอยู่บนความต้องการของสังคม
ง. ต้องเป็นเอกเทศไม่เกี่ยวข้องกับโครงการอื่นใด
จ. ต้องมีความยืดหยุ่นตามสภาวะแวดล้อมได้
13. ข้อใดเป็นกระบวนการที่เรียงลำดับอย่างถูกต้องของโครงการ?
ก. ร่าง – จัดการบริหาร – ประเมินผล
ข. ร่าง – ประเมิน – จัดการ – ประเมินผล
ค. ประเมิน – ร่าง – จัดการ – ประเมินผล
ง. ร่าง – ประเมินผล – จัดการ
จ. ประเมินผล – ร่าง – วิเคราะห์ – จัดการ
14. การร่างโครงการจะเริ่มต้นด้วยการร่างอะไรก่อน?
ก. ร่างข้อมูล
ข. ร่างโครงการกลยุทธ์
ค. ร่างองค์การ
ง. ร่างโครงการดำเนินการ
จ. ร่างโครงการปฏิบัติการ
15. การกำหนดกลยุทธ์ของโครงการต้องรู้สิ่งใดก่อนจึงจะทำได้?
ก. ขอบเขตของปัญหา
ข. ทรัพยากรที่มีสนับสนุน
ค. เวลาที่มี
ง. ถูกทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมา
จ. ผิดทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมา
16. วัตถุประสงค์ที่ดีของโครงการจะมีลักษณะอย่างไร?
ก. ตรงตามความต้องการของหน่วยงานเจ้าของโครงกาดร
ข. ปฏิบัติได้ในขอบเขตที่จำกัด
ค. มีมาตรฐานสูงสุดเสมอ
ง. มีหลายความหมาย
จ. มีมาตรฐานให้ประเมินผลได้
17. การร่างขั้นตอนดำเนินการในโครงการจะต้องบอกรายละเอียดอะไรเป็นสำคัญ?
ก. บอกตารางเวลาปฏิบัติการ
ข. บอกทรัพยากรที่ต้องใช้แต่ละขั้นตอน
ค. บอกแรงงานที่ต้องปฏิบัติ
ง. บอกรายละเอียดวิธีดำเนินการ
จ. ข้อ ก. – ง. ถูก
18. เราจะรู้ได้อย่างไรว่า แนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินโครงการจะเป็นอย่างไร?
ก. รู้ด้วยการคาดคะเน
ข. รู้ด้วยการสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
ค. ข้อมูลที่เก็บวิเคราะห์จะนำเราให้รู้ได้
ง. รู้จากการศึกษาจากโครงการคล้ายคลึงกัน
จ. รู้จากการเปรียบเทียบจากปัญหาที่มี
19. การร่างโครงการจริงๆ นั้นข้อมูลส่วนมากจะหาได้จากแหล่งใดมากที่สุด?
ก. จากสถานที่ดำเนินโครงการ
ข. จากเอกสารทั่วๆไป
ค. จากโครงการเก่าที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
ง. จากผู้เชี่ยวชาญประจำโครงการ
จ. จากสถานที่ราชการทั่วไป
20. ขั้นตอนการประเมินโครงการควรเริ่มได้เมื่อใดจึงจะดีที่สุด?
ก. เมื่อร่างโครงการจัดการโครงการ
ข. ก่อนจะเริ่มการจัดการโครงการ
ค. เมื่อได้โครงการกลยุทธ์แล้ว
ง. หลังจากเริ่มการจัดการโครงการไปแล้ว
จ. หลังจากประเมินโครงการแล้ว
21. ในการประเมินโครงการพัฒนานั้นแนวทางการประเมินที่เหมาะสมคือแนวใด?
ก. การประเมินแบบวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงการ
ข. ประเมินแนวทางศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
ค. ประเมินเชิงปริมาณ
ง. ประเมินเชิงคุณภาพ
จ. ประเมินเชิงคุณภาพและปริมาณ
22. การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการจะเน้นการวิเคราะห์ 4 ตัวแปร คือ ข้อใด?
ก. การจัดการกับเทคนิค
ข. สิ่งแวดล้อมกับเมือง
ค. สังคมกับสิ่งแวดล้อม
ง. เศรษฐกิจกับสังคม
จ. เทคนิคกับวัฒนธรรม
23. การวิเคราะห์ตัวแปรทางการเงินนั้นเรามุ่งหาคำตอบอะไร?
ก. ต้นทุนของโครงการ
ข. ผลตอบแทนของโครงการ
ค. มูลค่าของเทคนิคในโครงการ
ง. ความคุ้มทุนของโครงการ
จ. ความเสี่ยงของโครงการ
24. การควบคุมในการจัดการเน้นการควบคุมอะไรบ้าง?
ก. เวลา – ค่าใช้จ่าย – มาตรฐานของงาน
ข. เวลา – วัสดุ – ค่าใช้จ่าย
ค. บุคลากร – ค่าใช้จ่าย – วัสดุ
ง. บุคลากร – มาตรฐาน – วัสดุ
จ. มาตรฐาน – ค่าใช้จ่าย – วัสดุ
25. ข้อใดไม่ถือว่าเป็นเครื่องมือในการควบคุมโครงการ?
ก. การประชุม (METTING)
ข. การรายงาน (REPORTING)
ค. การมอบหมายงาน (DELEGATION)
ง. การตรวจสอบงาน (INPECTING)
จ. การอำนวยการ (DIRECTING)
26. การบริหารโครงการจะเริ่มต้นด้วยกิจกรรมใดก่อนจึงจะถูกต้อง?
ก. การร่างแผนการบริหาร
ข. การทำความเข้าใจกับตัวโครงการ
ค. การหาผู้ร่วมงาน
ง. การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนยอมรับโครงการ
จ. ไม่มีหลักการที่แน่นอนทั้งนี้แล้วแต่สถานการณ์
27. ในการบริหารโครงการ จะต้องมีศูนย์กลาง ซึ่งเป็นที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงการศูนย์กลางนั้นเรียกว่าอะไร?
ก. ห้องปฏิบัติการ (OPERATING ROOM)
ข.ห้องฝึกงาน (PRACTICAL ROOM)
ค. ห้องประชุม (METTING)
ง. ห้องสัมมนา (SEMINAR ROOM)
28. การประเมินผลโครงการหมายถึงอะไร?
ก. การติดตามผลการปฏิบัติงานของโครงการ
ข. การตรวจสอบของการปฏิบัติงานของโครงการ
ค. การเปรียบเทียบผลงานจริงกับผลที่วางโครงการไว้
ง. การศึกษาความผิดพลาดของการบริหารโครงการ
จ. การตรวจวัดผลของการบริหารว่าน่าพึงพอใจเพียงใด
29. การประเมินผลโครงการควรกระทำได้เมื่อใด?
ก. ในระหว่างดำเนินโครงการ
ข. ทันทีภายหลังสิ้นสุดการบริหารโครงการ
ค. ภายหลังการสิ้นสุดการบริหารโครงการแล้วระยะหนึ่ง
ง. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
30. การประเมินผลโครงการจะเริ่มต้นทำสิ่งใดก่อน?
ก. พิจารณารายเอียดของโครงการที่จะประเมินผล
ข. เก็บข้อมูลเผื่อวัดความเปลี่ยนแปลงของผลโครงการ
ค. วางแผนการประเมินผล
ง. สร้างเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลของการบริการบริหารโครงการ
จ. จัดเตรียมวิธีการในการรายงานผลการประเมินผลก่อน