((FREE ห้ามพลาด))แนวข้อสอบช่างไฟฟ้า กรมชลประทาน
1. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ 28-80 มิลลิแอมป์ ร่างกายของมนุษย์เกิดปฏิกิริยาอย่างไร
ก. กล้ามเนื้อเกร็ง
ข. หัวใจล้มเหลว
ค. ผิวหนังไหม้
ง. แค่รู้สึกกลัว
ตอบ ก.
2. เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด มีชื่อเรียกว่าอะไร
ก. แอมมิเตอร์
ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. วัตต์มิเตอร์
ตอบ ข.
3. ข้อใดไม่ใช่การไบอัสทรานซิสเตอร์
ก. ไบอัสคงที่
ข. ไบอัสคู่
ค. ไบอัสตัวเอง
ง. ไบอัสแบบแบ่งแรงดัน
ตอบ ข.
4. จากรูปมีค่าความจุเท่าใด
ก. 50
ข. 60
ค. 70
ง. 80
ตอบ ค.
5. ขดลวดอาเมเจอร์ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมีหน้าที่อะไร
ก. สร้างอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. สร้างกระแสไฟฟ้า
ค. ใช้ลดความเร็วมอเตอร์
ง. ใช้เพิ่มแรงดันไฟฟ้า
ตอบ ก.
6. ความเร็วของมอเตอร์ไฟตรงขึ้นอยู่กับอะไร
ก. ควบคุมกระแสที่ผ่านขดลวดอาเมเจอร์
ข. ปรับแรงดันที่จ่ายให้มอเตอร์
ค. ควบคุมการหมุน
ง. การสลับทิศทางการหมุน
ตอบ ข.
7. ปัจจุบันใช้การควบคุมมอเตอร์ด้วยวงจรอะไร
ก. วงจรพัลซ์วิธมอดูเลเตอร์
ข. วงจรบีเลเตอร์
ค. วงจรสวิตซ์เลเตอร์
ง. วงจรดูเลเตอร์
ตอบ ก.
8. ไดโอตชนิดใดที่ใช้ในวงจรรักษาแรงดันไฟฟ้า
ก. ไดโอตเปล่งแสง
ข. ไดโอดกำลัง
ค. ใช้ในวงจรแปลงไฟสลับเป็นไฟตรง
ง. ใช้ในงานแหล่งจ่ายกำลัง
ตอบ ง.
9. Clapper Relay เป็นชื่อของรีเลย์ชนิดใด
ก. รีดสวิตซ์
ข. ไร้รีเลย์
ค. อาร์เมเจอร์รีเลย์
ง. โซลิสเตตรีเลย์
ตอบ ค.
10. การต่อโวลต์มิเตอร์เพื่อวัดแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมอุปกรณ์ใดๆ จะต้องต่อแบบใด
ก. ต่อแบบอันดับ
ข. ต่อแบบขนาน
ค. ต่อได้ทั้งสองแบบ
ง. ต่อแบบขนาน และต้องปลดแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าออกจากวงจร
ตอบ ก.
11. เครื่องวัดไฟฟ้าสามารถบ่ายเบนเข็มมัลติมิเตอร์ได้เกิดจากสาเหตุใดๆ
ก. จ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าไปที่ขั้วบอกและขั้วลบ
ข. แรงดันตกคร่อมขดลวด
ค. ความต้านทานตกคร่อมโหลด
ง. จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านตัวต้านทาน
ตอบ ง.
12. เครื่องวัดไฟฟ้าเกิดแรงบิดอยู่ 3 แบบคืออะไรบ้าง
ก. บ่ายเบน, บิดควบคุม, บิดแดมพ์
ข. บิดบ่ายเบน, บิดคร่อม, บิดไฟฟ้า
ค. บิดสถิต, บิดไฟฟ้า, บิดแดมพ์
ง. แรงบิดบ่ายเบน, แรงบิดแรนดรอม, แรงบิดคร่อม
ตอบ ก.
13. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ใช้การขยายย่านวัดโดยการต่อแบบใด
ก. แบบอนุกรม
ข. แบบผสม
ค. แบบขนาน
ง. แบบอนุกรม-ขนาน
ตอบ ค.
14. การตรวจสอบคาปาซิเตอร์ สามารถใช้มัลติมิเตอร์ตรวจสอบได้โดย
ก. ทำการตั้งย่านวัด R×10 เข็มจะขึ้นค่อยๆลง
ข. ทำการตั้งย่านวัด DCv×50 เข็มจะค้าง
ค. ทำการตั้งย่านวัด Dcma×25 เข็มจะขึ้นละค่อยๆลง
ง. ทำการตั้งย่านวัด ACV×220 เข็มจะขึ้น-ลง
ตอบ ก.
15. ก่อนการทำการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ตกคร่อมโหลด ต้องทำสิ่งใดก่อนจะปฏิบัติ
ก. ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ข. ตรวจสอบขั้วบวก-ลบ
ค. ทำการตรวจสอบขั้วต่อสายไฟ
ง. ตรวจโหลด
ตอบ ก.
16. ทำการวัดค่าแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน 100 โอห์ม แหล่งจ่าย 15V ต้องปรับย่านวัดที่ย่านใด
ก. ปรับย่านวัด Dcma
ข. ปรับย่านวัด DCV
ค. ปรับย่านวัด ACV
ง. ปรับย่านวัด Hz
ตอบ ข.
17. ในการทดสอบตัวเก็บประจุโดยใช้โอห์มมิเตอร์ทำการวัดค่าผลปรากฏว่าเข็มของโอห์มมิเตอร์ไม่ขึ้นเลย จะสรุปว่าตัวเก็บประจุตัวนั้นเป็นเช่นไร
ก. ตัวเก็บประจุขาด
ข. ตัวเก็บประจุชอร์ต
ค. ตัวเก็บประจุรั่ว
ง. ตัวเก็บประจุดี
ตอบ ก.
18. ข้อใดไม่ใช่ค่าพื้นฐานที่มัลติมิเตอร์สามารถทำการวัดได้
ก. วัดแรงดันไฟตรง
ข. วัดค่าความต้านทาน
ค. วัดแรงดันไฟสลับ
ง. วัดค่ากระแสไฟสลับ
ตอบ ง.
19. การวัดค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน จะต้องนำมัลติมิเตอร์มากระทำในลักษณะใด
ก. ต่ออนุกรมกับวงจร
ข. ต่อขนานกับโหลด
ค. ต่ออนุกรมกับโหลด
ง. ต่อในลักษณะผสม
ตอบ ข.
20. วงจรอนุกรมประกอบด้วย R1 = 5 , R2 = 3 อยากทราบว่า R3 จะต้องมีค่าเท่าใดจึงจะทำให้ วงจรมีค่าความต้านทานรวมเป็น 18
ก. 3
ข. 5
ค. 8
ง. 10
ตอบ ง.