เจาะเกราะข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล [กรมเจ้าท่า] ฉบับใหม่ล่าสุดปี 58
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ กรมเจ้าท่า ทุกตำแหน่งที่เปิดสอบ ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
-ความรู้เกี่ยวกับกรมเจ้าท่า
-แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมเจ้าท่า
-สรุปสาระสำคัญระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วย
พนักงานราชการ พ.ศ.2547
-แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วย
พนักงานราชการ พ.ศ.2547
-แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
-ความสามารถด้านตัวเลขและความสามารถใน
การใช้ภาษาไทย
-แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง
เศรษฐกิจและสังคม
-เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
- คำศัพท์เกี่ยวกับการเดินเรือ
เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านควบคุมการจราจร)
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านพาณิชย์นาวี)
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านนโยบายและวางแผน)
นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ
เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน
นายช่างกลเรือปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน
เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์
นายท้ายเรือกลชายทะเล
ช่างเครื่องเรือ
คนครัว
พนักงานขนส่ง
สหโภชน์
ช่างเครื่องเรือ
พนักงานขับเครื่องจักรกล
ช่างยนต์
นายช่างเขียนแบบ
นายช่างโยธา
ช่างสำรวจ
นายช่างอิเล็กทรอนิกส์
เจ้าพนักงานสถิติ
เจ้าหน้าที่ทะเบียนประวัติ
เจ้าพนักงานพัสดุ
วิทยาจารย์ (ด้านการสอนวิชาฟิสิกส์)
นักทรัพยากรบุคคล
นักวิชาการขนส่ง (ด้านคนประจำเรือ) (ด้านส่งเสริมการขนส่งทางน้ำและการพาณิชยนาวี) (ด้านนโยบายและแผน)
นิติกร
นักวิชาการสถิติ
และตำแหน่งอื่นๆ
****1. ไฟล์ PDF ส่งทางอีเมลล์ ราคา 399 บาท จัดส่งทุกวันถึงเที่ยงคืน ****
****2. สั่งปรินท์เป็นหนังสือ ราคา 899 บาท (ส่ง EMS ทางไปรษณีย์)***
@@@จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ update ใหม่ล่าสุดของตำแหน่งที่กำลังเปิดสอบ@@@
รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย :
- แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
- รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย
- รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม และรุ่นพี่ที่สอบจากสนามจริง
- รายละเอียดเอกสารแนวข้อสอบ จดลิขสิทธิ์ถูกต้อง
******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******
สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ :
โทร : 080 450 5746
Line ID : muktit
E-mail : vijjadh@gmail.com
Facebook : https://www.facebook.com/ebookkhosob
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.bkk1.in.th/Topic.aspx?
ตัวอย่างข้อสอบ
1. กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวีเปลี่ยนชื่อใหม่คือข้อใด
ก. กรมเจ้าท่า ค. กรมท่าเรือ
ข. การขนส่งทางน้ำกรมเจ้าท่า ง. พาณิชยราชนาวี
2. เปลี่ยนชื่อกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี เป็น กรมเจ้าท่า เมื่อปี พ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2551 ค. พ.ศ. 2553
ข. พ.ศ. 2552 ง. พ.ศ. 2554
3. ข้อใดคืออธิบดีกรมเจ้าท่า
ก. นายจำรูญ ตั้งไพศาลกิจ ค. นายณัฐ จับใจ
ข. เรือตรี ปรีชา เพ็ชรวงศ์ ง. นายพงษ์วรรณ จารุเดชา
4. ข้อใดคือหน่วยงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไปและปฏิบัติงานสารบรรณของกรม
ก. สำนักงานเลขานุการกรม
ข. กองกิจการระหว่างประเทศ
ค. ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
ง. กองมาตรฐานคนประจำเรือ
5. ข้อใดคือเรือที่เดินด้วยกรรเชียง แจวหรือพาย
ก. เรือกำปั่น ค.เรือเล็ก
ข. เรือโป๊ะ ง. เรือกล
6. ข้อใดคือเรือโดยสาร
ก. เรือที่ใช้ในการลำเลียงทหาร
ข. เรือที่ใช้สำหรับหาความสำราญ หรือเรือที่ใช้เพื่อการเล่นกีฬา
ค. เรือที่ใช้สำหรับการจับสัตว์น้ำ
ง. เรือที่บรรทุกคนโดยสารเกิน 12 คน
7. เจ้าพนักงานตรวจเรือ ได้รับการแต่งตั่งจากส่วนใด
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ข. เลขาธิการกระทรวงคมนาคม
ค. อธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี
ง. รองอธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี
8. ผู้ควบคุมเรือไทยที่ได้จดทะเบียนแล้ว ต้องจัดให้มีการชักธงชาติไทยในเมื่อใด
ก. ผ่านเรือรบไทยหรือเรือรบต่างประเทศ
ข. ขณะเรือเข้าหรือออกจากเมืองท่าไทย และเมืองท่าต่างประเทศ
ค. ขณะเรืออยู่ในเมืองท่าไทยตั้งแต่เวลา ๘ นาฬิกา จนถึงเวลาอาทิตย์ตก
ง. ถูกทุกข้อ
9. ข้อใดคือประธานคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
10. คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี มีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี
ก. 6 ปี ค. 3 ปี
ข. 4 ปี ง. 2 ปี
11. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการขนส่งทางทะเล
ก. การขนส่งของโดยเรือจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศ
ข. การขนส่งคนโดยสารโดยเรือจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศ
ค. การขนส่งของหรือคนโดยสารจากต่างประเทศมายังประเทศไทย
ง. การขนส่งของหรือคนโดยสารทางทะเลชายฝั่งในราชอาณาจักรโดยเรือที่มีขนาดตั้งแต่1,000ตันกรอสขึ้นไป
12. ข้อใดคือผู้ที่มีอำนาจออกกฎการถือท้ายและการเดินเรือ
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ค. ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
ง. นายกรัฐมนตรี
13. ข้อใดที่กำหนดแบบคำสั่งการกักเรือ
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ง. ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
14. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสัญญาการขนส่งของทางทะเล
ก. ผู้ส่งของบุคคลซึ่งเป็นคู่สัญญากับผู้ขนส่งในสัญญารับขนของทางทะเล
ข. ใบตราส่งเป็นเอกสารที่ผู้ขนส่งออกให้แก่ผู้ส่งของเป็นหลักฐาน
ค. สัญญาที่ผู้ขนส่งรับขนของทางทะเลจากท่าหรือที่ในประเทศหนึ่งไปยังท่าหรือที่ในอีกประเทศหนึ่ง
ง. ในการจัดส่งของไม่มีการคิดค่าระวาง
15. เมื่อได้บรรทุกของลงเรือเสร็จแล้วต้องออกใบตราส่งชนิดใด
ก. ส่งสินค้าตามคำสั่ง ค. บรรทุกแล้ว
ข. ทำการจัดส่งสินค้า ง. รับสินค้า
ถาม – ตอบ
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พุทธศักราช ๒๔๕๖
1. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ เริ่มใช้เป็นกฎหมายตั้งแต่วันใด
ตอบ วันที่ ๑ กันยายน พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
2. “เจ้าท่า” หมายความว่า
ตอบ อธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี* หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี*มอบหมาย
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมมีอำนาจออกกฎกระทรวงในเรื่องใด
ตอบ (๑) กำหนดแนวแม่น้ำลำคลองหรือทะเลอาณาเขตแห่งใดเป็นเขตท่าเรือและเขตจอดเรือ
(๒) กำหนดทางเดินเรือทั่วไปและทางเดินเรือในเขตท่าเรือนอกจากทางเดินเรือในเขตท่าเรือกรุงเทพ ฯ
(๓) กำหนดแนวทะเลแห่งใดภายในน่านน้ำไทยเป็นเขตควบคุมการเดินเรือ
4. นายเรือต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อเรือกำปั่นตามประเภทที่เจ้าท่าประกาศกำหนดลำใด เข้ามาในน่านน้ำไทย
ตอบ (๑) แจ้งต่อเจ้าท่า
(๒) ชักธงสำหรับเรือนั้นขึ้นไว้ให้ปรากฏ
(๓) ติดตั้งและเปิดใช้โคมไฟตั้งแต่เวลาพระอาทิตย์ตกถึงเวลาพระอาทิตย์ขึ้น
5. เรือประเภทใดเมื่อเข้ามาในเขตท่าเรือใด ๆ ในน่านน้ำไทย นายเรือต้องรายงานการเข้ามาถึงต่อเจ้าท่าตามแบบพิมพ์ของกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี*ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่จอดเรือเรียบร้อย
ตอบ เรือกลที่เป็นเรือเดินทะเล และเป็นเรือไทยขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสส์ขึ้นไป และเรือกำปั่นต่างประเทศ
6. เรือกลที่เป็นเรือเดินทะเลและเป็นเรือไทยขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสส์ขึ้นไป และเรือกำปั่นต่างประเทศที่เตรียมจะออกไปจากเขตท่าเรือใด ๆ ในน่านน้ำไทย นายเรือต้องชักธงลา (คือธงที่เรียกว่าบลูปีเตอร์) อย่างไร
ตอบ ถ้าเรือกำหนดออกในเวลาบ่ายให้ชักธงขึ้นในเวลาเช้า ถ้าเรือกำหนดออกในเวลาเช้าให้ชักธงขึ้นในเวลาบ่ายของวันก่อน
7. เรือกำปั่นต่างประเทศ เมื่อเข้ามาในเมืองท่าของประเทศไทย ซึ่งมิได้กำหนดเป็นเขตท่าเรือ นายเรือต้องรายงานการเข้ามาหรือออกไปต่อเจ้าท่าภายในเวลาเท่าใด
ตอบ 24 ชั่วโมงนับแต่เรือเข้ามาหรือก่อนเรือออกไป และต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าท่า
8. เรือกลที่เป็นเรือเดินทะเลและเป็นเรือไทยขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสส์ขึ้นไป เมื่อจะออกจากเขตท่าเรือใด ๆ ในน่านน้ำไทย นายเรือต้องแจ้งกำหนดออกเรือต่อเจ้าท่าก่อนออกเรือเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด
ตอบ ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง เพื่อให้เจ้าท่าตรวจสอบว่าปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่เสียก่อน เมื่อเห็นว่าถูกต้องแล้ว จึงอนุญาตให้ออกเรือได้
9. นายเรือหรือผู้ที่ควบคุมเรือผู้ใดฝ่าฝืนเข้าไปในเขตควบคุมการเดินเรือ ต้องระวางโทษปรับเท่าใด
ตอบ ตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 10,000 บาท และให้เจ้าท่ามีอำนาจสั่งยึดใบประกาศนียบัตรควบคุมเรือ มีกำหนดไม่เกิน 6 เดือน
10. นายเรือหรือผู้ที่ควบคุมเรือผู้ใดปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างที่ถูกยึดใบประกาศนียบัตรควบคุมเรือต้องระวางโทษปรับเท่าใด
ตอบ ต้องระวางโทษปรับ 10,000 บาท