กรมชลประธาน
เนื้อหาประกอบด้วย
ที่ทุกตำแหน่งต้องใช้
แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน (พร้อมเฉลย)
– วิสัยทัศน์ ผู้บริหาร ตราสัญลักษณ์ อํานาจหน้าที่ ของกรมชลประทาน
– บทบาทภารกิจ จรรยาบรรณ พนักงาน ของกรมชลประทาน
– ความรู้เกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน ปี 2556-2559
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการชลประทาน วัตถุประสงค์ของการชลประทาน ระบบส่งน้ำแบบต่างๆ
– ความรู้เกี่ยวกับคลองส่งน้ำ ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือทางด้านการชลประทาน
– ความรู้ด้านหลักการชลประทาน ดินเกี่ยวข้องกับการชลประทานอย่างไร น้ำเพื่อประโยชน์ต่องานชลประทาน
– ความสัมพันธ์ระหว่าง ดิน น้ำ พืช สภาพแวดล้อม ต่องานด้านชลประทาน
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบ พรบ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานรัฐ พ.ศ. 2542 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2545 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบแผนพัฒนาเศรษกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบวัดความถนัดทางเชาวน์ปัญญา Aptitude Test (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบความสามารถในการสรุปผลเกี่ยวกับตัวเลขและข้อมูลต่าง (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบความรู้ทั่วไป (ด้านการเมือง ทหาร เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม) (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบันอัพเดทของ ปี 2559 (พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบสังคม วัฒนธรรม และ ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (พร้อมเฉลย)
– ความรู้เกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมไทย ในปัจจุบัน
– ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน จุดประสงค์ของการรวมตัว คำขวัญ สัญลักษณ์ กฎต่างๆ ของประชามคมอาเซียน ประโยน์ต่างๆที่ไทยจะได้รับจากประชาคมอาเซียน
แนวข้อสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตําแหน่งเลือกตามตำแหน่งที่สอบ (พร้อมเฉลย)
– ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ
– ตำแหน่งนายช่างเครื่องกล
– ตำแหน่งนายช่างชลประทาน
– ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า
– ตำแหน่งนายช่างโยธา
– ตำแหน่งนายช่างสำรวจ
– ตำแหน่งวิศวกรชลประทาน
แนวข้อสอบความรู้ด้านหลักการชลประทาน
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
ข้อที่ 1. ข้อใดให้ความหมายของ "หลักการชลประทาน" ได้ชัดเจนที่สุด ?
ก. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการน้ำ
ข. หลักเกณฑ์และวิธีการจัดหานํ้าและการจัดการนํ้า
ค. หลักเกณฑ์และวิธีการให้นํ้าแก่พืชโดยการเพิ่มความชื้นให้แก่ดินจนดินมีความ ชุ่มชื้นพอเหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืช เพื่อให้เกิดผลผลิตสูงสุด
ง. ผิดทุกข้อ
ข้อที่ 2. คุณสมบัติทางกายภาพของดินมีส่วนเกี่ยวข้องกับวิธีการชลประทานอย่างไร ?
ก. การระบายนํ้าและการถ่ายเทอากาศในดิน
ข. การคำนวนหาความสูญเสียน้ำในกรณีที่ถูกดินดูดซึม
ค. ความสามารถในการถ่ายเทนํ้าของดิน
ง. ความสามารถในการป้องกันน้ำของดิน
ข้อที่ 3. การเคลื่อนที่ของนํ้าในดินมีประโยชน์ต่องานด้านชลประทานอย่างไร ?
ก. ไม่มีประโยชน์
ข. มีประโยชน์ เนื่องจากใช้หาค่าอัตราการดูดซึม (Infitration Rate)
ค. มีประโยชน์ เนื่องจากใช้ประกอบการคํานวณหาระยะเวลาการให้นํ้า และเลือกอัตราการให้นํ้าให้เหมาะสม
ง. มีประโยชน์ เนื่องจากใช้ประกอบการคํานวณออกแบบระบบการให้นํ้าแก่พืช
ข้อที่ 4. ดัชนีที่บ่งบอกว่าคุณภาพนํ้าชลประทานจะมีผลกระทบต่อต้นพืช โดยทั่วไปจะพิจารณาจากอะไร ?
ก. ปริมาณของน้ำตาลในนํ้า
ข. ปริมาณของอากาศในนํ้า
ค. ความเป็นพิษต่อต้นพืช
ง. ความเป็นกรดและด่าง
ข้อที่ 5. คุณสมบัติของนํ้าทางด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ มักจะมีผลกระทบต่องานด้านชลประทานอย่างไร ?
ก. จะมีผลกระทบต่องานด้านชลประทาน เกี่ยวกับการเลือกระบบการให้นํ้า
ข. จะมีผลกระทบต่องานด้านชลประทาน เกี่ยวกับคุณภาพของนํ้าที่เปลี่ยนแปลง
ค. จะมีผลกระทบต่องานด้านชลประทาน เกี่ยวกับอุณหภูมิของน้ำ
ง. จะมีผลกระทบต่องานด้านชลประทาน เกี่ยวกับการระบายน้ำ
ข้อที่ 6. แนวทางการแก้ปัญหาคุณภาพนํ้าที่เกี่ยวกับงานด้านชลประทานสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่กระบวนการใหญ่ ?
ก. สามารถแบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ คือกระบวนการทางกายภาพ และ กระบวนการทางเคมี
ข. สามารถแบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ คือกระบวนการทางกายภาพ กระบวนการทางเคมี และกระบวนการทางชีวภาพ
ค. สามารถแบ่งออกเป็น 4 กระบวนการ คือกระบวนการทางกายภาพ กระบวนการทางเคมี กระบวนการทางชีวภาพ และ กระบวนการทางกายภาพ-เคมี
ง. สามารถแบ่งออกเป็น 5 กระบวนการ คือกระบวนการทางกายภาพ กระบวนการทางเคมี กระบวนการทางชีวภาพ กระบวนการทางกายภาพ-เคมี และกระบวนการทางชีวเคมี
ข้อที่ 7. ข้อใดคือการแก้ปัญหาคุณภาพนํ้าโดยกระบวนการทางกายภาพ (Physical Unit Operations) ?
ก. การดักด้วยตะแกรง (Screening)
ข. การตกตะกอนผลึก (Precipitation)
ค. การฆ่าเชื้อโรค (Disinfection)
ง. Electrodialysis
ข้อที่ 8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการชลประทานสําหรับดินเค็ม ?
ก. ใช้ระบบชลประทานระบบหยด
ข. ทําแผนที่แสดงขอบเขตของดินเค็ม โดยแบ่งตามลําดับของดินเค็ม (ECe) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเลือกพืชให้ถูกต้อง
ค. เลือกพืชให้เหมาะสมกับสภาพความเค็มของดิน
ง. จัดการนํ้าให้เหมาะสม โดยปริมาณนํ้าที่นํามาใช้จะแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือปริมาณนํ้าที่จะต้องชะล้างเกลือออกไป ส่วนที่ 2 คือ ประมาณนํ้าที่ควบคุมมิให้เกิดการสะสมเกลือมากยิ่งขึ้น
ข้อที่ 9. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการพิจารณาวางโครงการชลประทาน ?
ก. การศึกษาทรัพยากรที่มีอยู่
ข. การศึกษาโครงสร้างของดิน
ค. การศึกษาทางด้านวิศวกรรม
ง. การศึกษาด้านการเงิน (Viability)
ข้อที่ 10. ข้อใดคือการศึกษาเบื้องต้นในการพิจารณาวางโครงการชลประทาน ?
ก. การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ดินและทรัพยากรควรพัฒนาหรือไม่
ข. การศึกษารายละเอียดทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ สังคม วิเคราะห์ผลประโยชน์ ค่าลงทุน
ค. การศึกษาด้านการเงินเบื้องต้นว่าพอมีแนวทางเป็นไปได้หรือไม่ ประเมินสภาพแวดล้อม และจะต้องสรุปให้ได้ว่าโครงการเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม
ง. การดําเนินการและรายงานผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่อย่างไร
<<< สอบถามเพิ่มเติมได้ที่นี้ >>>
<<<<<Line ID : bowei2517
<<<<<Tel : 0921508652
<<<<<E-Mail : bowei2559@gmail.com
เว็บที่เกี่ยวข้อง >> http://xn--22co7argba2gm5af3ab3dr1hsgxfj.blogspot.com/
[[[............พร้อมแจ้งอีเมลล์ที่ใช้รับไฟล์แนวข้อสอบ pdf (หากซื้อเป็นไฟล์)
แจ้งชื่อ-ที่อยู่ (กรณีสั่งซื้อเป็นหนังสือ ส่งฟรีEMS)
พิเศษโอนวันนี้ในราคาสุดคุ้มเพียง !!!
รูปแบบไฟล์pdf - เพียง 390 บาท **ส่งทางe-mail**
รูปเล่ม 690 บาทเท่านั้น!!! **ส่งฟรีEMS**