ข้อสอบ สำนักงานสถานธนานุบาล กทม. ฉบับอัพเดทปี 58
ตำแหน่ง: 12 ตำแหน่ง 22 อัตรา
ระดับการศึกษา: ม.ปลาย ปวช. ปริญญาตรี ปริญญาโท
อัตราเงินเดือน: 5,340-8,340
อัตราว่าง: 22
ปฏิบัติงานที่:
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 11 พ.ค. – 02 มิ.ย. 2558
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**วิธีการสมัครงานพนักงาน สถานธนานุบาล กทม. :ตนเอง
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบสามารถขอรับใบสมัครสอบและสมัครสอบด้วยตนเองได้ที่สำนัก งานสถานธนานุบาลกรุงเทพมหานคร (สธก.) อาคารโกลด์มาร์เก็ต เลขที่ 8 ถนนเทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 021580042-4
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ สำนักงานสถานธนานุบาล กรุงเทพมหานคร โรงรับจำนำกรุงเทพ กทม. ใหม่ล่าสุด
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบสำนักงานสถานธนานุบาล ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
- ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถานธนานุบาล กทม
- แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (คณิตศาสตร์)
- แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
- แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม
- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. 2505
แนวข้อสอบเฉพาะตำแหน่ง (เลือกตามที่สอบ)
- บุคลากร
- พนักงานพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์
- พนักงานการเงินและบัญชี
- พนักงานกิจการสาขา
- พนักงานสถานที่
คู่มือแนวข้อสอบมี 2 แบบ คือ
****1. ไฟล์ PDF ราคา 399 บาท จัดส่งไฟล์ทุกวันถึงเที่ยงคืน ****
****2. หนังสือ รวมส่ง ems ราคา 899 บาท รอรับประมาณ 3 วัน ****
**** @@@จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ update ใหม่ล่าสุดของตำแหน่งที่กำลังเปิดสอบ@@@
รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย :
- แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
- รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย
- รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม และรุ่นพี่ที่สอบจากสนามจริง
- รายละเอียดเอกสารแนวข้อสอบ จดลิขสิทธิ์ถูกต้อง
******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******
สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ :
โทร : 080 450 5746
Line ID : muktit
E-mail : vijjadh@gmail.com
Facebook : https://www.facebook.com/ebookkhosob
ตัวอย่างข้อสอบ
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. ๒๕๐๕
1. พระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติฉบับใด
ก. พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๑
ข. พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๒
ค. พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๓
ง. พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๔
ตอบ ง. พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๔
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พุทธศักราช ๒๔๘๐ และ พระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๔
2. ผู้แต่งตั้งเจ้าพนักงานตรวจโรงรับจำนำคือใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. คณะกรรมการควบคุมโรงรับจำนำ
ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
มาตรา ๒๘ เจ้าพนักงานตรวจโรงรับจำนำซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีอำนาจเข้าไปในโรงรับจำนำเพื่อตรวจทรัพย์จำนำและเอกสารที่เกี่ยวกับการรับจำนำ และผู้รับจำนำต้องให้ความสะดวกตามสมควร
เจ้าพนักงานตรวจโรงรับจำนำต้องมีบัตรประจำตัวตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง และต้องแสดงบัตรประจำตัวเมื่อผู้ที่เกี่ยวข้องร้องขอ
3. ในพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. ๒๕๐๕ ให้แก้ไขจากคำว่า “อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์” เป็นข้อใด
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
ข. อธิบดีกรมพัฒนาสังคม
ค. อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ง. อธิบดีกรมตำรวจ
ตอบ ค. อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
มาตรา ๙๕ ในพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. ๒๕๐๕ ให้แก้ไขคำว่า “อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์” เป็น “อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ”
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการเดินมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่างๆ ให้สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพื่ออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการปรากฏในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความชัดเจนในการใช้กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอำนาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใด ได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอำนาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็นการแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีนี้
4. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการพระราชบัญญัติคือใคร
ก. จอมพล ส. ธนะรัชต์
ข. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ค. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
ง. พล.อ.สุจินดา คราประยูร
ตอบ ก. จอมพล ส. ธนะรัชต์
5. พระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ให้ไว้เมื่อวันที่เท่าใด
ก. วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ข. วันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ค. วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ง. วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ตอบ ค. วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ภูมิพลอดุยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นปีที่ ๑๗ ในรัชกาลปัจจุบัน
6. พระราชบัญญัติฉบับนี้เป็นปีที่เท่าใดในรัชกาลปัจจุบัน
ก. ปีที่ ๑๕ ในรัชกาลปัจจุบัน
ข. ปีที่ ๑๖ ในรัชกาลปัจจุบัน
ค. ปีที่ ๑๗ ในรัชกาลปัจจุบัน
ง. ปีที่ ๑๘ ในรัชกาลปัจจุบัน
ตอบ ค. ปีที่ ๑๗ ในรัชกาลปัจจุบัน
ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
7. ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ก. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. คณะกรรมการควบคุมโรงรับจำนำ
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ตอบ ข. รัฐมนตรี
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“โรงรับจำนำ” หมายความว่า สถานที่รับจำนำซึ่งประกอบการรับจำนำสิ่งของ เป็นประกันหนี้เงินxxx้เป็นปกติธุระแต่ละรายมีจำนวนเงินไม่เกินหนึ่งแสนบาท และหมายความรวมตลอดถึงการรับหรือซื้อสิ่งของโดยจ่ายเงินให้สำหรับสิ่งของนั้นเป็นปกติธุระ แต่ละรายมีจำนวนเงินไม่เกินหนึ่งแสนบาท โดยมีข้อตกลงหรือเข้ากันโดยตรงหรือปริยายว่าจะได้ไถ่คืนในภายหลังด้วย
“ผู้รับจำนำ” หมายความว่า ผู้รับใบอนุญาตตั้งโรงรับจำนำ