การบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model)
ชื่องานวิจัย การบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา
เขต 5
ผู้วิจัย นายโสฐพล บนภัทรวรรษ
ปี พ.ศ. 2553-2555
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและพัฒนาการพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 2) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 53) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและนักเรียน โรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้งที่มีต่อพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model)กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย 1)การกำหนดกรอบกระบวนการ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ปีการศึกษา 25532)การศึกษาผลการพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5กลุ่มเป้าหมายได้แก่ครู จำนวน 15 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 9 คน ผู้ปกครองจำนวน 50 คน และนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 จำนวน 56 คน ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ปีการศึกษา 2554 รวมทั้งสิ้น 130 คน และครูผู้สอนจำนวน 15 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 9 คน ผู้ปกครองจำนวน 50 คน และนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 จำนวน 59 คน ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5ปีการศึกษา 2555 รวมทั้งสิ้น 133 คนเครื่องมือที่ใช้เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย1) แบบประเมินผลการการพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 52) แบบประเมินความพึงพอใจของครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5
ผลการศึกษา
1. ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อการกำหนดกรอบกระบวนการที่จะรูปแบบการบริหารครบวงจร 7ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตาทกรอบงาน 7 กระบวนการ ให้ความคิดเห็นมากที่สุดทุกขั้นตอน
2.ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามรูปแบบการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 พบวา มีผลการปฏิบัติงานในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.09, = 0.18 ) เมื่อพิจารณาเปนรายดานอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ กระบวนการที่ 1SWOT ก่อนเริ่ม(A = Analysis SWOT) มีผลการปฏิบัติงานสูงสุด อยูในระดับมาก ( = 4.13, = 0.35) รองลงมา ไดแก กระบวนการที่ 3ขั้นตอนพัฒนา 5d (d = Development to 5m)
( = 4.12, = 0.30) กระบวนการที่ 4สร้างวิถีส่วนร่วมบริหาร (M = Management partway) ( = 4.12, = 0.38) กระบวนการที่ 7พัฒนาเป็นอัตลักษณ์โรงเรียน(d = Development to Identity) ( = 4.12, = 0.49) กระบวนการที่ 6หลากหลายประเมินค่า (e = estimate various) ( = 4.09, = 0.44) และกระบวนการที่ 2เติม need จากองค์กร ( n = need+ )
( = 4.05, = 0.35) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กระบวนการที่ 5เชี่ยวชาญนิเทศสู่เป้าหมาย (e = Expert supervisor) มีผลการปฏิบัติงานอยูในระดับมาก ( = 4.02 , = 0.54)
3.ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และนักเรียน มีความพึงพอใจต่อการบริหารครบวงจร 7 ขั้นตอนสู่คุณภาพ (And – Meed Model) ของโรงเรียนบ้านเหนือทัพรั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก
( = 4.28 , = 0.15) เมื่อพิจารณาเปนรายด้าน พบวา ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยพบว่า SWOT ก่อนเริ่ม เติม need จากองค์กร มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
( = 4.33 , = 0.21) อันดับรองลงมา คือ การสร้างวิถีส่วนร่วมบริหาร( = 4.29 , = 0.32) เชี่ยวชาญนิเทศสู่เป้าหมาย หลากหลายประเมินค่า พัฒนาเป็นอัตลักษณ์โรงเรียน( = 4.28, = 0.30) ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยที่สุด คือ ขั้นตอนการพัฒนา 5d ( = 4.22 , = 0.28)
:em8: