วิธีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายคุ้มครองเด็ก
วิธีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก วิชาสังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง รหัส วิชา ส21101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนบ้านแก้ง
2. ผู้วิจัย
นางสาวชริดา จันทึม ตำแหน่งครู โรงเรียนบ้านแก้ง อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 5
3. ปัญหา
วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส21101) เป็นวิชาที่มีเนื้อหาจานวนมาก และต้อง
อาศัยการอ่าน และการท่องจามากที่สุดถึงจะได้คะแนนสูง เป็นเนื้อหาที่ค่อนข้างมากและยากต่อการเข้าใจ จึง
ทาให้นักเรียนเกิดความน่าเบื่อหน่าย สาหรับนักเรียนในยุคปัจจุบันที่อยู่ใน ยุค ICT ที่เต็มไปด้วยสื่อและ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งที่สร้างความสนใจให้กับนักเรียนอีกมากมาย จากการสังเกตนักเรียนในการเรียน
เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก ในปีการศึกษาที่ผ่านมา พบว่านักเรียนไม่ชอบเรียน แสดงอาการเบื่อ
หน่าย และมีนักเรียนจำนวนมากที่ได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้เกรดน้อยมาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้
ออกแบบเอกสาร ประกอบการสอน ได้แก่ แบบฝึกหัดที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ใบความรู้คู่แบบฝึกหัดและ
กำหนดกิจกรรมเสริมบทเรียนเพื่อเพิ่มคะแนนให้สอบผ่านหรือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้นกว่าเดิม
4. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาวิธีการที่ทาให้นักเรียนระดับชั้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง
รหัสวิชา ส21101 ดีขึ้น
5. ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
ผลการวิจัยจะทาให้ได้แบบฝึกทักษะที่ทาให้นักเรียนมีทักษะและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับคุ้มครองเด็ก วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา
ส 21101 ดีขึ้นกว่าเดิม
6. ตัวแปรในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ คือ แบบฝึกหัด เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กที่มีความหลากหลาย
ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
7. วิธีการวิจัย
1. กำหนดกิจกรรม ผลงาน และกำหนดเวลาในการส่งงาน หรือกิจกรรมที่กำหนดให้ทาช่วงต้นคาบ
เรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง (ส21101)
2. ชี้แจงเกี่ยวกับการส่งงาน ตามกำหนดเวลา จะได้คะแนนสูง และส่งงานช้า จะได้คะแนนน้อย โดย
การกำหนดส่งงานจะกำหนดส่งเป็น 3 ช่วงเวลา ห่างกัน ช่วงละ 5 วัน และนักเรียนที่ส่งงานช้า จะถูกตัด
คะแนนช่วงละ 2 คะแนน
3. มีการติดตามงานของนักเรียน โดยซักถามในคาบทุกคาบเรียน กรณีที่นักเรียน ไม่ส่งงาน จนหมด
เวลาในการส่ง (ไม่ส่งจนครบช่วงเวลาที่กำหนดส่ง)
4. นักเรียนที่ไม่ทำกิจกรรม หรือ ผลงานส่งจนหมดเวลาส่ง ครูจะกำหนดให้มาทากิจกรรม ช่วงเวลา
หลังเลิกเรียนหรือคาบชุมนุม โดยครูเป็นผู้ติดตาม และควบคุม ซึ่งนักเรียนไม่ต้องได้รับผลการเรียน ร และ จะ
ได้รับคะแนน ครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม (ผลงานต้องมีคุณภาพ)
5. กาหนดกิจกรรมเสริม เพื่อให้นักเรียนทาเพื่อเพิ่มคะแนน โดยอยู่นอกเหนือจากกิจกรรมปกติโดย
นักเรียนที่ท ากิจกรรมนี้ จะมีโอกาสเพิ่มเกรดให้สูงขึ้น และมีโอกาสติด 0 ลดลง
6. มีกิจกรรมซ่อมเสริม นักเรียนที่สอบไม่ผ่านทั้งสอบหลังเรียนรายหน่วย สอบระหว่างภาค และสอบ
ปลายภาคเพื่อให้ได้คะแนนครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็มทุกครั้ง ทุกคน ที่สอบไม่ผ่าน
7. มีการเสริมแรงให้กาลังใจให้โอกาส และให้ความเป็นกันเองแก่นักเรียน เมื่อนักเรียนมาติดต่อขอ
งานหรือสอบแก้ตัว ซึ่งอาจล่าช้าบ้าง
7.1 แบบแผนการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ
7.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 ที่มีปัญหาในเรื่องการ
ส่งงานและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 25 คน
7.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบฝึกทักษะที่เหมาะกับ
ความสามารถของนักเรียนและมีการเสริมแรงโดยการใช้โอกาสเป็นกันเองกับนักเรียนและติดตามงานตลอด
เสริมแรงสม่ำเสมอ
7.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ข้อมูลที่เก็บได้แก่ คะแนนในการส่งงาน
2. วิธีการเก็บข้อมูล โดยการสำรวจ / สอบถาม
3. เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบฝึกที่เหมาะกับความสามารถของแต่ละคน
7.5 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยดูจากการส่งงานของนักเรียนและการทากิจกรรมเสริมที่ครู
ก าหนดให้ท าเพื่อเป็นการเพิ่มคะแนนจากการส่งงานตามช่วงเวลาที่กาหนด (3 ช่วงเวลา)
8. ผลการวิจัย
1. นักเรียนทางานส่งครบตามที่กาหนด (3 ช่วงเวลา) ถึงแม้ว่าจะมีบางส่วนที่ส่งงานช้า แต่
เมื่อครบ 3 ช่วงเวลา ก็ส่งงานครบทุกคน ยกเว้น นักเรียนที่ออกจากโรงเรียน แต่ยังไม่มาลาออก
2. การกาหนดกิจกรรมเสริมให้นักเรียนทาส่ง หรือเข้าร่วมกิจกรรม สามารถช่วยให้นักเรียน
ทำคะแนน ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง (ส21101) ดีขึ้น ทาให้มีโอกาส
ที่จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน รายวิชานี้สูงขึ้น
3. นักเรียนที่ไม่สนใจส่งงานหรือทากิจกรรม ตามที่ครูกาหนดมักจะเป็นนักเรียนที่ไม่ตั้งใจ
เรียน ชอบเล่นในเวลาเรียนครูต้องกาหนดบทลงโทษ และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดและต้องมีความเสมอตน
เสมอปลาย และใช้เหตุผลในการลงโทษไม่ใช้อารมณ์
4. นักเรียนที่ไม่สนใจทากิจกรรมการเรียน ครูต้องคอยเสริมแรงให้กาลังใจ ให้ความเป็น
กันเอง และให้โอกาสแกเด็ก ท าให้นักเรียนกล้ามาพบครูและทางานส่ง ถึงจะล่าช้าบ้าง
5. การติดตามเรื่องการส่งงานของนักเรียน และตรวจงานโดยเน้นเรื่องการตรงเวลา และแจ้ง
คะแนน ให้นักเรียนทราบอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้นักเรียนส่งงานตามเวลาดีขึ้น และมีการติดตามสอบแก้ตัว ทา
ให้มีโอกาสที่จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชานี้สูงขึ้น
6. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นวัยที่ชอบความมีเหตุผล ไม่ชอบให้ใช้อารมณ์ดังนั้น การ
พูดชักจูงนักเรียนเรื่องการทากิจกรรม และการส่งงาน โดยใช้เหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ส่งผลให้นักเรียนส่งงานมาก
ขึ้น ถึงแม้ว่าจะส่งงานล่าช้าก็ตาม
9. เอกสารอางอิง
สุวิมล วองวานิช ( 2544 ) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์อักษรไทย.
ภาคผนวก
กิจกรรม/ งานที่กาหนดให้ท า ---------------------------------------------------------------------
1. แบบฝึกหัดเรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก
2. ภาพผังขั้นตอนการตรากฎหมาย จ านวน 1 หน้ากระดาษ ขนาด A4 (งานเดี่ยว)
3. การน าเสนอเรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก จากกรณีศึกษาที่ก าหนดให้
(งานกลุ่ม 3 - 5 คน กลุ่มละ 1 กฎหมาย)
4. สอบปากเปล่าตอบค าถามเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มคครองเด็ก กฎหมายการศึกษา
5. กิจกรรมสอนเสริมเพิ่มความรู้วิชาสังคมศึกษา (ตามความสมัครใจ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัดเรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก
คําชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบค าถาม
กรณีศึกษาที่ 1 (กฎหมายความสามารถของผู้เยาว์) โก้อายุ 16 ปี ชวนเก่งซึ่งเป็นเพื่อนอายุ 17 ปี ซึ่งทาการ
สมรสแล้วไปซื้อรถจักรยานยนต์เพื่อไว้ใช้ขับขี่ไปทาธุระในที่ต่างๆ ที่อยู่ห่างไกลจากหมู่บ้าน เจ้าของร้าน
จ าหน่ายรถจักรยานยนต์ไม่ยอมขาย รถจักรยานยนต์ให้ทั้ง 2 คน แต่เก่งได้แสดงหลักฐานการสมรสให้เจ้าของ
ร้านดู
คําถาม
1. ถ้านักเรียนเป็นเจ้าของร้านจาหน่ายรถจักรยานยนต์ จะขายรถจักรยานยนต์ให้กับใคร จงอธิบาย
เหตุผล
............................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ...........
...................................................................................................................... ..................
............................................................................................................................. ...........
..............................................................................................................................................................
2. ใครไม่สามารถซื้อรถจักรยานยนต์ได้ เพราะอะไร แต่ถ้าเขาต้องการซื้อรถจักรยานยนต์ เขาควร
ปฏิบัติอย่างไร
.................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. ...........
........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...........
................................................................................................................................................................
.
กรณีศึกษาที่ 2 เต้ย ตาล ฝน และฟ้า ซึ่งมีอายุระหว่าง 15-17 ปี นั่งสนทนากัน
เต้ย : เพื่อนรู้ไหมว่า ฉันกลุ้มใจมากเลย ฉันลักลอบได้เสียกับกุ้ง กุ้งท้องแล้วคลอด
ลูกเป็นผู้ชาย เราอยากให้ลูกเป็นลูกที่ถูกต้องตามกฎหมาย เราจะท า
อย่างไรดี
นักเรียน : ช่วยตอบคาถามเต้ยด้วย
............................................................................................................................. ...........
...................................................................................................................... ..................
............................................................................................................................................................