LASTEST NEWS

25 พ.ย. 2567ล 1932/2567 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู และที่แก้ไขเพิ่มเติม 25 พ.ย. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย จำนวน 81 อัตรา - รายงานตัว 28 พ.ย. 2567 25 พ.ย. 2567สพป.สมุทรสาคร เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 14 อัตรา รายงานตัว 3 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเมืองสุรินทร์ รับสมัครครูอัตราจ้าง 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 25-27 พฤศจิกายน 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านระไซร์(เด่นพัฒนา) รับสมัครครูอัตราจ้าง วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 7,000.- บาท  24 พ.ย. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 11 อัตรา - รายงานตัว 4 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รับสมัครครูอัตราจ้างงานแนะแนว จำนวน 1 อัตรา เงินเดือน 15,000.- บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี รับสมัครครูอัตราจ้าง 3 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567โรงเรียนตากพิทยาคม รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 อัตรา ตั้งแต่ 23 พ.ย.-16 ธ.ค.2567 23 พ.ย. 2567สพป.อำนาจเจริญ รับสมัครพนักงานราชการ ตำแหน่งพี่เลี้ยง 5 อัตรา วุฒิม.3-ปวส.ทุกสาขา เงินเดือน 10,430-13,800 บาท สมัครระหว่างวันที่ 2-12 ธันวาคม 2567

กลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน

usericon

เรื่อง กลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี
จังหวัดสมุทรสาคร
ผู้รายงาน นางสาวศศิมา รุ่งสินวนิช
ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลนาดี
ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์ การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อนาผลการพัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ ปัญหาการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหารจานวน 2 คน ครูจานวน 30 คน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเทศบาลนาดี จานวน 12 คน และครูภูมิปัญญาท้องถิ่น จานวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จานวน 49 คน กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัญหาและความต้องการด้านการจัดการความรู้การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 พัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร จานวน 2 คน ครู จานวน 30 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 12 คน และครูภูมิปัญญา จานวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จานวน 49 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผลสรุป การประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการระหว่างผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น และความคิดเห็นการพัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี 4 ด้าน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการพัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอน จานวน 30 คน และนักเรียน จานวน 265 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เป็นแบบสอบถาม จานวน 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามผลการพัฒนากลยุทธ์การนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสอบถามครูผู้สอน ฉบับที่ 2 แบบสอบถาม การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนต่อการใช้กลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสอบถามนักเรียน สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพปัญหาความต้องการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เทศบาลนาดี จังหวัดสมุทรสาคร ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.44, S.D. = 0.43)
2. ผลการพัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เทศบาลนาดี กับผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูภูมิปัญญาท้องถิ่น 4 เรื่อง ด้านทาขนมไทย ด้านแสดงโขนสด ด้านดนตรีไทย และด้านการเกษตร กาหนดแนวทาง การพัฒนา มี 4 องค์ประกอบคือ 1) ด้านการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา 2) ด้านการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 3) ด้านสื่อการเรียนรู้ 4) ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ และประเมินคุณภาพ ของกลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลนาดี ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.41, S.D. = 0.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีคุณภาพสูงสุด คือ ด้านการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.52, S.D. = 0.52) รองลงมา ด้านการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( = 4.43, S.D. = 0.49) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.42, S.D. = 0.48) และด้านที่มีคุณภาพ ต่าสุดคือ ด้านสื่อการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ( = 4.49, S.D. = 0.50)
3. ผลการพัฒนากลยุทธ์การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของครู โดยในภาพรวม พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก (= 4.58, S.D. = 0.50) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (= 4.71, S.D. = 0.50) ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ (= 4.64, S.D. = 0.51) ด้านการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา (= 4.50, S.D. = 0.52) และด้านสื่อการเรียนรู้ (= 4.46, S.D. = 0.48)
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^