การพัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแบบออนไลน์เชิงรุก
ผู้วิจัย นางสาวสุบิน วงษ์ธิ
สถานที่ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) ปีที่พิมพ์ 2565
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีการนาสื่อนวัตกรรมต่าง ๆตลอดจน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกได้เข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลายและยืดหยุ่นตามศักยภาพของตนเอง ผู้สอนจะต้องมีการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ดังนั้นการวิจัยในครั้งนี้จึงมี ความมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแบบออนไลน์เชิงรุกของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) ให้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) และการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกด้วยสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยใช้การฝึกอบรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ และ การนิเทศภายในเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาภายใต้วิธีการดาเนินการการวิจัยตามหลักการวิจัย ปฏิบัติการตามแนวคิดของเคมมิส และแม็กแท็กการ์ด (Kemmis and McTaggart) โดยดาเนินการพัฒนา 2 วงรอบประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติการ การสังเกตการณ์และการสะท้อนผล กลุ่มผู้ร่วมวิจัยมี 8 คนและกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม จานวน 270 คน เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และแบบวัดทักษะปฏิบัติการตรวจสอบข้อมูลโดยใช้เทคนิคการตรวจสอบ แบบสามเส้า ใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและนาเสนอผลการวิจัยโดยการ บรรยาย ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแบบออนไลน์เชิงรุกของครู โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) ให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E- Learning) และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นรูปธรรมโดยใช้กล ยุทธ์ในการพัฒนา3 กลยุทธ์คือการฝึกอบรมการประชุมเชิงปฏิบัติการและการนิเทศภายในผลการ พัฒนาในวงรอบที่ 1 จากการฝึกอบรม และการประชุมปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตด้วยระบบจัดการเรียนการสอนเชิงรุก กลุ่มผู้ร่วมวิจัย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดาเนินการตามขั้นตอนการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) และ จัดการเรียน การสอนออนไลน์ได้เป็นที่น่าพอใจ โดยมีวิทยากรในโรงเรียนเป็นผู้นิเทศและตรวจสอบ ผลงานที่ปฏิบัติได้ อย่างใกล้ชิดปรากฏว่ายังมีผู้ไม่เข้าใจในบางกิจกรรมในเรื่อง กิจกรรมห้องสนทนา (Chat), กิจกรรมสารวจ ความคิดเห็น (Choice), กิจกรรมกระดานเสวนา (Forum) และกิจกรรม แบบสอบถาม (Survey) จานวน 2 คน ผู้วิจัยจึงดาเนินการพัฒนาในวงรอบที่ 2 โดยใช้กลยุทธ์ การนิเทศภายในเพื่อติดตามและให้ความ ช่วยเหลือจากวิทยากรภายในโรงเรียนและจากผู้ที่ร่วมวิจัย ที่มีความชานาญจากการฝึกอบรมและการ ประชุมเชิงปฏิบัติการในวงรอบที่ 1 เป็นผู้ให้คาชี้แนะ ซึ่งทาให้กลุ่มผู้ร่วมวิจัยสามารถสร้างสื่อ อิเล็กทรอนิกส์(E-Learning) และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์เชิงรุกได้ทุกคน จากผลการ ฝึกอบรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการสร้างสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (E- Learning) บุคลากรสามารถปฏิบัติได้ระดับดีคือ ปฏิบัติได้ด้วยตนเองตรงตามเงื่อนไข ที่กาหนดได้ถูกต้อง
สมบูรณ์การประชุมเชิงปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลากรใน 2 กิจกรรมประกอบด้วย 1) การพัฒนาทักษะปฏิบัติ เพิ่มเติมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์(E-Learning) อยู่ในระดับปฏิบัติมาก 2) การเขียนแผนจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับดีเยี่ยม และ การนิเทศภายในเพื่อติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์(E-Learning) โดย การสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์(E-Learning) ของโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัด โพธิสัมพันธ์) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
โดยสรุป การพัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแบบออนไลน์เชิงรุกของครูโรงเรียน เมืองพัทยา9(วัดโพธิสัมพันธ์)โดยใช้วิธีการเรียนการสอนแบบใหม่การนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาใช้จัด กิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกเป็นเรื่องที่ดีมากในยุคโลกาภิวัฒน์โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E- Learning) นอกจากนั้นมีการนากลยุทธ์นิเทศติดตามมาใช้ในการพัฒนาเพื่อความต่อเนื่อง และการ สนับสนุนด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ การสื่อสารให้เพียงพอต่อความต้องการในการใช้ของผู้สอน และ ผู้เรียนเพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้นมีการถ่ายทอดลงสู่ ผู้เรียน และเป็นความรู้ที่คงทนต่อไป
Title Personnel development to promote the proactive online teaching management of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan)
Author Miss Subin Wongthi
Area Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) Year published 2022
Abstract
Student-centered teaching and learning that uses various innovative media and computer technology in proactive teaching and learning activities has a greater role. This is to allow students to learn a variety and be flexible according to their potential. Teachers must organize teaching and learning activities that learners can learn anywhere and at any time. Therefore, this research aims to develop personnel in proactive online teaching of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) to educate them on the ability to create electronic media (E-Learning) and organizing proactive teaching and learning activities with electronic media. Strategies used in this development include training, workshops, and internal supervision. Two cycles of Kemmis and McTaggart's operational research concept were conducted. Each cycle consisted of planning, action, observation and reflection. There were 8 co-researchers and 270 informants. The tools used for data collection were observational forms, questionnaires, interview forms, and operational skills assessment forms. The data was verified using the triangulation technique. The statistics used in the analysis were percentage, arithmetic mean and standard deviation. The research results were presented by describing. The research results were found that develop personnel in proactive online teaching of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) to educate them on the ability to create electronic media (E-Learning) and organizing proactive teaching and learning activities with electronic media by using 3 strategies including training, workshops, and internal supervision. In circle 1, after training and a human resource development workshop on online teaching management via the internet with a proactive teaching management system (E-Learning) and manage online teaching at a satisfactory level by being supervised and inspecting practical works closely from lecturers in the school. But there were still 2 teachers who did not understand some activities, namely chat room activities (Chat), poll activities (Choice), forum activities (Forum) and questionnaire activities (Survey). The researcher then proceeded to develop a second cycle using an internal supervision strategy to monitor and provide assistance. Facilitators within the school and from co-researchers with expertise from Cycle One training and workshops guided them. This allows all research participants to create electronic media (E-Learning)
and organize proactive online teaching and learning activities. The results of training in organizing proactive teaching and learning activities with electronic media in creating electronic media (E-Learning), what personnel could perform at a good level was that they could perform by themselves in accordance with the specified conditions correctly and completely. As for the workshop for personnel development in 2 activities, consisting of 1) developing additional practical skills in organizing teaching and learning activities with electronic media (E-Learning) at a very practical level and 2) writing a learning management plan and The learning activities were at an excellent level. As for internal supervision to follow up on teaching and learning activities with electronic media (E-Learning) by asking students' opinions on the management of teaching and learning with electronic media (E-Learning) of Muang Pattaya 9 School (Wat Pho Samphan) was overall at a high level.
In summary, the personnel development to promote proactive online teaching of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) by using new teaching methods and using electronic media to organize proactive teaching activities was a very good approach in the era of globalization through electronic media (E-Learning). In addition, follow-up supervision strategies are used to develop continuity. To provide sufficient computer and communication technology support to meet the needs of teachers and students in order to organize online teaching activities to be more concrete, to be transmitted to students and be sustainable knowledge further.