LASTEST NEWS

24 พ.ย. 2567โรงเรียนเมืองสุรินทร์ รับสมัครครูอัตราจ้าง 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 25-27 พฤศจิกายน 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านระไซร์(เด่นพัฒนา) รับสมัครครูอัตราจ้าง วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 7,000.- บาท  24 พ.ย. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 11 อัตรา - รายงานตัว 4 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รับสมัครครูอัตราจ้างงานแนะแนว จำนวน 1 อัตรา เงินเดือน 15,000.- บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี รับสมัครครูอัตราจ้าง 3 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567โรงเรียนตากพิทยาคม รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 อัตรา ตั้งแต่ 23 พ.ย.-16 ธ.ค.2567 23 พ.ย. 2567สพป.อำนาจเจริญ รับสมัครพนักงานราชการ ตำแหน่งพี่เลี้ยง 5 อัตรา วุฒิม.3-ปวส.ทุกสาขา เงินเดือน 10,430-13,800 บาท สมัครระหว่างวันที่ 2-12 ธันวาคม 2567 23 พ.ย. 2567สพป.อำนาจเจริญ เปิดสอบพนักงานราชการ ตำแหน่งครูผู้สอน 38 อัตรา วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 18,000.-บาท สมัครระหว่างวันที่ 2-12 ธันวาคม 2567 23 พ.ย. 2567#ไม่ต้องผ่านภาค ก กรมทางหลวงชนบท เปิดสอบพนักงานราชการ 111 อัตรา สมัครออนไลน์ ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 - 29 พฤศจิกายน 2567 ตลอด 24 ชั่วโมงไม่เว้นวันหยุดราชการ 22 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านผารางวังหม้อ(มิตรประชา) รับสมัครครูผู้สอน วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน)

รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน จามแน

usericon

รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทาง พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ผู้รายงานนาเสนอข้อมูล ดังนี้
วัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการ
ในการรายงานการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม- ราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม- ราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
วิธีดาเนินการประเมินโครงการ
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2564 รวมจานวน 1,931 คน จาแนกเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 15 คน รองผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 2 คน ครู จานวน 57 คน ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 882 คน และนักเรียน จานวน 975 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2564 ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 621 คน ในการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง ดาเนินการดังนี้ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน และครู ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จะได้กลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 15 คน รองผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 2 คน และ ครู จานวน 57 คน รวมจานวน 74 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน
1
กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปกครองนักเรียน 269 คน และนักเรียน 278 จานวน
2. ขอบเขตของเนื้อหา
การรายงานประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ครั้งนี้ ผู้รายงานกาหนดขอบเขตและโครงสร้างของเนื้อหา ดังนี้
2.1 การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ใช้รูปแบบการประเมินแบบซิปป์ (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam, D. L.,1977, p.45) ซึ่งประเมิน ใน 4 ด้าน ได้แก่
2.1.1 การประเมินด้านสภาพแวดล้อม หมายถึง การพิจารณาและตรวจสอบ
ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ของโครงการกับบริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ นโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ นโยบายการดาเนินงาน การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน และการยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 การประเมินด้านปัจจัยนาเข้า หมายถึง การพิจารณา และตรวจสอบความเพียงพอ หรือความเหมาะสมของปัจจัยต่าง ๆ ที่ใช้ในการบริหารโครงการ ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ
2.1.3 การประเมินด้านกระบวนการ หมายถึง การพิจารณา และตรวจสอบระดับ
การปฏิบัติของโครงการตามระบบวงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) ได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ และการปรับปรุงและแก้ไขปัญหา การดาเนินโครงการให้ดีขึ้น
2.1.4 การประเมินด้านผลผลิต หมายถึง การพิจารณา และตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลผลิต ผลรวม ผลกระทบ ประสิทธิผล ความยั่งยืน การถ่ายทอดส่งต่อ คุณค่าของโครงการ ความพึงพอใจ และภาคภูมิใจในผลงานของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง และมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของการทากิจกรรมตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน
2.2 ศึกษาความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เป็นการประเมินสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม 4 ด้าน ได้แก่
ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม
ด้านที่ 3 มีงานทา – มีอาชีพ
ด้านที่ 4 เป็นพลเมืองดี
2
3. ขอบเขตระยะเวลา
ระยะเวลาในการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ คือ วันที่ 16 พฤษภาคม 2564 ถึงวันที่ วันที่ 31 มีนาคม 2565
ระยะเวลาในการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ซึ่งดาเนินการ ดังนี้
ระยะที่ 1 การประเมินก่อนดาเนินโครงการ คือ การประเมินสภาพแวดล้อม ( และปัจจัยนาเข้าของโครงการ ดาเนินการวันที่ 12 พฤษภาคม 2564
ระยะที่ 2 การประเมินระหว่างดาเนินการ คือ การประเมินกระบวนการของโครงการดาเนินการวันที่ 1 ตุลาคม 2564
ระยะที่ 3 การประเมินหลังดาเนินการ เป็นการประเมินผลผลิตของโครงการ และสอบถาม
ความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ดาเนินการวันที่ 31 มีนาคม 2565
4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นตัวเลขมาตราส่วนประมาณค่า (Numerical Rating Scale) 5 ระดับ ซึ่งแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 4 ฉบับ ดังนี้
ฉบับที่ 1 แบบสอบถามการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านสภาพแวดล้อม และปัจจัยนาเข้า (ก่อนดาเนินโครงการ) ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน และครู
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านกระบวนการ (ระหว่างดาเนินโครงการ) ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน
ฉบับที่ 3 แบบสอบถามการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านผลผลิต (หลังดาเนินโครงการ) ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน
3
ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียน
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ผู้รายงานได้ดาเนินการ ดังนี้
5.1 ทาหนังสือเชิญคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน และครู เข้าร่วมประชุม เพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านสภาพแวดล้อม และปัจจัยนาเข้า ตามแบบสอบถามที่กาหนด (ก่อนดาเนินโครงการ) ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 74 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบกลับ จานวน 74 ฉบับ คิดเป็น ร้อยละ 100
5.2 ทาหนังสือเชิญคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เข้าร่วมประชุมเพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านกระบวนการ (ระหว่างดาเนินการ) ในวันที่ 1 ตุลาคม 2564 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 343 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบกลับ จานวน 343 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
5.3 ขอความร่วมมือครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ให้ช่วยแจกแบบสอบถามให้กับนักเรียน เพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านกระบวนการ (ระหว่างดาเนินการ) ตามแบบสอบถามที่กาหนด ในวันที่ 1 ตุลาคม 2564 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 278 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบกลับ จานวน 278 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
5.4 ทาหนังสือเชิญคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เข้าร่วมประชุมเพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของนักเรียน ตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านผลผลิต (หลังดาเนินการ) ในวันที่ 31 มีนาคม 2565 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 343 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบกลับ จานวน 343 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
5.5 ขอความร่วมมือครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ให้ช่วยแจกแบบสอบถามให้กับนักเรียน เพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในด้านผลผลิต (หลังดาเนินการ) ตามแบบสอบถามที่กาหนด ในวันที่ 31 มีนาคม 2565 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 278 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบกลับ จานวน 278 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
4
5.6 สอบถามความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการโรงเรียน
ครู และผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทาง
พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในวันที่ 31 มีนาคม 2565 โดยแจกแบบสอบถาม จานวน 343 ฉบับ ได้รับข้อมูลตอบ
กลับ จานวน 343 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
5.7 ผู้รายงานแจกและเก็บแบบสอบถามที่ให้กับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
รองผู้อานวยการโรงเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน ได้รับแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์กลับคืน
คิดเป็นร้อยละ 100
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลในการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตาม
แนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ครั้งนี้ ทาการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้คอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป
โดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สรุปผล
รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนตามแนวทางพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
ครั้งนี้ ผู้รายงานสรุปผลการศึกษาที่สาคัญได้ดังนี้
1. ผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม
ราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก
อุตรดิตถ์ จาแนกเป็นรายด้าน สรุปได้ดังนี้
1.1 ด้านสภาพแวดล้อม
การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทางพระบรม
ราโชบาย ด้านการศึกษา โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก
อุตรดิตถ์ ด้านสภาพแวดล้อม พบว่า ภาพรวมมีความสอดคล้อง อยู่ในระดับมาก (x= 4.32, S.D.= 0.16)
เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ พบว่า ลาดับแรก คือ โรงเรียนกาหนดกิจกรรม
ลูกเสือ-เนตรนารี เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนปฏิบัติได้จริง ( x = 4.68, S.D.= 0.47) รองลงมา คือ
โรงเรียนกาหนดกิจกรรมเสริมหลักสูตร สร้างสรรค์อาชีพที่น่าสนใจเหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนปฏิบัติ
ได้จริง ( x = 4.53, S.D.= 0.51) และโรงเรียนกาหนดกิจกรรมโครงงานคุณธรรมนักเรียนทาดี เหมาะสม
กับช่วงวัยของนักเรียนปฏิบัติได้จริง ( x= 4.52, S.D.= 0.51) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด
คือ โรงเรียนกาหนดกิจกรรมวันสาคัญนาคุณธรรม เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนปฏิบัติได้จริง
( x= 3.94, S.D.= 0.40)
5
1.2 ด้านปัจจัยนาเข้า
การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนตามแนวทางพระบรม
ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก
อุตรดิตถ์ ด้านปัจจัยนาเข้า พบว่า ภาพรวมมีความพอเพียงหรือความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก
( x = 4.37, S.D.= 0.31) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ พบว่า ลาดับแรก มี 5 ข้อ
คือ ผู้บริหารโรงเรียนสนับสนุนการดาเนินงานของกิจกรรมตามโครงการ ( x= 4.52, S.D.= 0.51) โรงเรียน
จัดสรรวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินงานตามโครงการเพียงพอ ( x = 4.52, S.D.= 0.51)
โรงเรียนจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา สื่อ และอุปกรณ์ให้มีคุณภาพและทันสมัย ( x = 4.52, S.D.= 0.51)
ครูที่รับผิดชอบจัดกิจกรรมของโครงการมีจานวนเพียงพอ ( x = 4.52, S.D.= 0.51) และเนื้อหาและ
ช่วงเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ( x = 4.52, S.D.= 0.77) รองลงมา พบว่า มี 2 ข้อ คือ โรงเรียน
จัดเตรียมหลักสูตรเหมาะสม เน้นกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมตามแนวทางพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา
ทั้งในและนอกห้องเรียน ( x = 4.47, S.D.= 0.69) และครูที่รับผิดชอบจัดกิจกรรมมีความรู้และ
ประสบการณ์เหมาะสม ( x = 4.47, S.D.= 0.69) และลาดับที่สาม คือ เอกสารที่เตรียมไว้ใช้ในการ
ดาเนินงานช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใจคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
( x = 4.36, S.D.= 0.76) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด พบว่า มี 2 ข้อ คือ โรงเรียนจัดแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย สนับสนุนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ( x = 4.21, S.D.= 0.91) และโรงเรียน
จัดบรรยากาศที่เอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ต้องการ ( x = 4.21, S.D.= 0.78)
1.3 ด้านกระบวนการ
การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนตามแนวทางพระบรม
ราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก
อุตรดิตถ์ ด้านกระบวนการ พบว่า ภาพรวมมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ( x = 4.21, S.D.= 0.22) เมื่อ
พิจารณารายข้อโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ พบว่า ลาดับแรก คือ รูปแบบการจัดกิจกรรม
ในโครงการช่วยให้นักเรียนมีความสนใจ เร้าใจ กระตือรือร้น เข้าร่วมกิจกรรม ( x = 4.40, S.D.= 0.50)
รองลงมา พบว่า มี 2 ข้อ คือ การดาเนินงานตามกิจกรรมและเป็นไปตามปฏิทินระยะเวลาที่กาหนด
( x= 4.37, S.D.= 0.53) และการประเมินผลการปฏิบัติงานตามโครงการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องด้วยวิธี
ที่หลากหลายครบทุกกิจกรรม (x= 4.37, S.D.= 0.48) และลาดับที่สาม คือ ขณะดาเนินงานตามโครงการ
มีการแก้ไข ปรับปรุงวิธีการดาเนินงานเมื่อพบว่า มีข้อบกพร่อง ( x = 4.36, S.D.= 0.44) ตามลาดับ
ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ครูร่วมกิจกรรมชุมชนทางวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับคุณธรรม
จริยธรรม ตามแนวทางพระบรมราโชบาย (x= 3.89, S.D.= 0.64)
1.4 ด้านผลผลิต
การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนตามแนวทางพระ
บรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ด้านผลผลิต สรุปผลจาแนกตามองค์ประกอบ ดังนี้
1.4.1 องค์ประกอบผลกระทบ (Impact) พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น อยู่ในระดับ
มาก ( x= 4.37, S.D.= 0.21) เมื่อพิจารณาในรายข้อโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ พบว่า
6
ลาดับแรก คือ ผู้ปกครองมีเจตคติที่ดีต่อพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของนักเรียน ( x = 4.68, S.D.= 0.56)
รองลงมา พบว่า มี 2 ข้อ คือ ครูมีความมุ่งมั่นและเอาใจใส่ต่อกิจกรรมอย่างจริงจัง (x = 4.56, S.D.= 0.49) และ
ครูสนใจเฝ้าคอยสังเกตการณ์และติดตามการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง (x= 4.56, S.D.= 0.49)
และลาดับที่สาม พบว่า มี 2 ข้อ คือ ผู้บริหารภาคภูมิใจในการดาเนินงานตามกิจกรรมของโครงการ
( x = 4.51, S.D.= 0.50) และผู้บริหารได้รูปแบบการประเมินโครงการที่ชัดเจน ( x = 4.51, S.D.= 0.50)
ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนชักชวนให้ผู้อื่นร่วมปฏิบัติกิจกรรม ( x = 3.71, S.D.= 0.93)
1.4.2 องค์ประกอบประสิทธิผล (Effectiveness) พบว่า ภาพรวม มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับมาก ( x= 4.19, S.D.= 0.29) เมื่อพิจารณาในรายด้านโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา
พบว่า ลาดับแรก คือ ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม ( x = 4.25, S.D.= 0.30) รองลงมา
พบว่า มี 2 ด้าน คือ ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ( x = 4.19, S.D.= 0.29) และด้านที่ 3 มีงานทา
– มีอาชีพ ( x = 4.19, S.D.= 0.30) และลาดับที่สาม คือ ด้านที่ 4 เป็นพลเมืองดี ( x = 4.13, S.D.= 0.31)
ตามลาดับ เมื่อพิจารณาจาแนกเป็นรายด้าน โดยเรียงจากรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ สรุปดังนี้
1.4.2.1 ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น
อยู่ในระดับมาก ( x = 4.19, S.D.= 0.29) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนช่วยกิจกรรมต่าง ๆ
ของครอบครัวตามความสามารถ ( x= 4.39, S.D.= 0.49) รองลงมา คือ นักเรียนยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผู้อื่น มีความเป็นผู้นา-ผู้ตามที่ดี ( x= 4.38, S.D.= 0.69) และนักเรียนภูมิใจในความเป็นชาติ
ร้องเพลงชาติ และอธิบายความหมายของเพลงชาติได้ ( x = 4.37, S.D.= 0.71) ตามลาดับ ส่วนรายข้อ
ที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ( x = 3.97, S.D.= 0.81)
1.4.2.2 ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม พบว่า ภาพรวม
มีความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ( x = 4.25, S.D.= 0.30) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนตั้งใจเรียน
ทาการบ้านจนสาเร็จ ( x = 4.43, S.D.= 0.71) รองลงมา คือ นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนไปและกลับจากโรงเรียน
( x = 4.40, S.D.= 0.55) และนักเรียนส่งงานตามกาหนดเวลา ( x = 4.33, S.D.= 0.71) ตามลาดับ ส่วนรายข้อ
ที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนรู้จักใช้จ่ายและออมเงินอย่างสม่าเสมอ (x= 3.99, S.D.= 0.80)
1.4.2.3 ด้านที่ 3 มีงานทา – มีอาชีพ พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น อยู่ใน
ระดับมาก ( x = 4.19, S.D.= 0.30) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจ และ
สาเร็จ ( x = 4.34, S.D.= 0.67) รองลงมา คือ นักเรียนปฏิบัติด้วยความพยายายามรอบคอบและมีความสุข
( x= 4.24, S.D.= 0.74) และลาดับที่สาม พบว่า มี 2 ข้อ คือ นักเรียนมีเป้าหมายและสนใจในอาชีพต่าง ๆ
( x= 4.21, S.D.= 0.41) และนักเรียนรับผิดชอบต่องาน สู้งาน ทางานสาเร็จ ( x= 4.21, S.D.= 0.77)
ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนสามารถนาการฝึกฝนอบรม ทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร
สู่การปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน ( x = 3.93, S.D.= 0.74)
1.4.2.4 ด้านที่ 4 เป็นพลเมืองดี พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น อยู่ในระดับ
มาก ( x = 4.13, S.D.= 0.31) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว เพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ( x= 4.30, S.D.= 0.59) รองลงมา พบว่า มี 2 ข้อ
คือ นักเรียนแต่งกาย มีมารยาท มีสัมมาคารวะ และกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ (x= 4.23, S.D.= 0.71)
และนักเรียนอาสาปฏิบัติงานบาเพ็ญประโยชน์ เมื่อมีโอกาสด้วยความเต็มใจ ( x= 4.23, S.D.= 0.42)
7
และลาดับที่สาม คือ นักเรียนเต็มใจและช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ ของโรงเรียน ชุมชน และสังคม ( x = 4.22,
S.D.= 0.81) ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนดูแลรักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อม
ด้วยความเต็มใจ ( x= 3.92, S.D.= 0.77)
1.4.3 องค์ประกอบความยั่งยืน (Sustainability) พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น อยู่ใน
ระดับมาก ( x = 4.43, S.D.= 0.24) เมื่อพิจารณาในรายข้อโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ
พบว่า ลาดับแรก คือ ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมปรับปรุง และแก้ไขกิจกรรมทุกเดือน ทุกภาคเรียน
( x = 4.60, S.D.= 0.49) รองลงมา คือ ครูผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ประเมินผลกิจกรรมทุกภาคเรียน
และปีการศึกษา ( x = 4.55, S.D.= 0.49) และผู้บริหารโรงเรียนกากับ ติดตาม และประเมินผลทุกสัปดาห์
และทุกเดือน ทุกภาคเรียนและทุกปีการศึกษา (x = 4.54, S.D.= 0.83) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ย
ต่าสุด คือ ครูผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม พร้อมให้ความร่วมมือดาเนินโครงการเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ
ต่อไป ( x = 4.28, S.D.= 0.79)
1.4.4 องค์ประกอบการถ่ายทอดส่งต่อ (Transportability) พบว่า ภาพรวมมีความคิดเห็น
อยู่ในระดับมาก ( x = 4.19, S.D.= 0.30) เมื่อพิจารณาในรายข้อโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ
พบว่า ลาดับแรก คือ โรงเรียนประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ปกครองได้ทราบ ( x = 4.34, S.D.= 0.48)
รองลงมา คือ โรงเรียนเผยแพร่ผลงานในเว็บไซด์ของโรงเรียน ( x = 4.28, S.D.= 0.45) และโรงเรียนสร้าง
เครือข่ายการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมร่วมกับชุมชน (x= 4.26, S.D.= 0.60) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ โรงเรียนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานกับโรงเรียนต่าง ๆ ในการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมของนักเรียน ( x = 4.03, S.D.= 0.44)
2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อานวยการ
โรงเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียน ที่มีต่อโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ตามแนวทาง
พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในโรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า ภาพรวม มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก (x = 3.92, S.D.= 0.34) เมื่อพิจารณา
ในรายด้านโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา พบว่า ลาดับแรก คือ ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม
( x= 4.04, S.D.= 0.37) รองลงมา คือ ด้านที่ 3 มีงานทา – มีอาชีพ ( x= 3.94, S.D.= 0.40) ด้านที่ 4
เป็นพลเมืองดี ( x = 3.86, S.D.= 0.34) และด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ( x = 3.81, S.D.= 0.36)
ตามลาดับ เมื่อพิจารณาจาแนกเป็นรายด้าน โดยเรียงจากรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดลงมา 3 ลาดับ สรุปดังนี้
2.1 ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง พบว่า ภาพรวมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับ
มาก ( x = 3.81, S.D.= 0.36) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนภูมิใจในความเป็นชาติ ร้องเพลงชาติ
และอธิบายความหมายของเพลงชาติได้ ( x= 4.32, S.D.= 0.69) รองลงมา พบว่า มี 2 ข้อ คือ นักเรียน
ช่วยกิจกรรมต่าง ๆ ของครอบครัวตามความสามารถ ( x = 4.13, S.D.= 0.52) และนักเรียนยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความเป็นผู้นา-ผู้ตามที่ดี ( x = 4.13, S.D.= 0.74) และลาดับที่สาม คือ นักเรียน
เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความสามัคคีปรองดองที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และ
สังคม ( x= 4.10, S.D.= 0.85) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนร่วมกิจกรรมปกป้อง
และยกย่องชื่นชมความเป็นชาติไทย ( x= 3.23, S.D.= 0.78)
8
2.2 ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม พบว่า ภาพรวมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับ
มาก ( x = 4.04, S.D.= 0.37) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนไปและกลับจากโรงเรียน
(x= 4.26, S.D.= 0.74) รองลงมา คือ นักเรียนตั้งใจเรียนทาการบ้านจนสาเร็จ (x= 4.23, S.D.= 0.42) และ
ลาดับที่สาม พบว่า มี 2 ข้อ คือ นักเรียนเชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ (x= 4.18, S.D.= 0.73) และนักเรียน
รับผิดชอบต่อชิ้นงานที่ครูมอบหมาย ( x = 4.18, S.D.= 0.73) ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ
นักเรียนรู้จักใช้จ่ายและออมเงินอย่างสม่าเสมอ ( x = 3.39, S.D.= 0.88)
2.3 ด้านที่ 3 มีงานทา – มีอาชีพ พบว่า ภาพรวมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก
( x= 3.94, S.D.= 0.40) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจและสาเร็จ
( x = 4.15, S.D.= 0.78) รองลงมา คือ นักเรียนมีความมุ่งมั่นที่จะเรียนรู้ในอาชีพต่าง ๆ (x = 4.06, S.D.= 0.84)
และนักเรียนปฏิบัติด้วยความพยายายามรอบคอบและมีความสุข ( x = 4.01, S.D.= 0.87) ตามลาดับ
ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนสามารถนาการฝึกฝนอบรม ทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร
สู่การปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน ( x = 3.45, S.D.= 0.87)
2.4 ด้านที่ 4 เป็นพลเมืองดี พบว่า ภาพรวมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก
( x = 3.86, S.D.= 0.34) รายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนแต่งกาย มีมารยาท มีสัมมาคารวะ และ
กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ( x= 4.17, S.D.= 0.73) รองลงมา คือ นักเรียนอาสาปฏิบัติงานบาเพ็ญ
ประโยชน์เมื่อมีโอกาสด้วยความเต็มใจ ( x= 4.12, S.D.= 0.51) และนักเรียนรู้จักการแบ่งปันสิ่งของ
ทรัพย์สิน และอื่น ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุขให้กับผู้อื่น ( x = 4.07, S.D.= 0.81) ตามลาดับ
ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนชักชวนให้ผู้อื่นร่วมสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น (x = 3.37, S.D.= 0.76)
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^