เผยแพร่ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 1-65 ครูรจนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทรงกลมท้องฟ้า เรื่อง การระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าตามระบบพิกัดขอบฟ้า
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
วันที่ ......... เดือน ........................... พ.ศ. 2565 เวลา 4 ชั่วโมง
1. ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
1. สร้างแบบจำลองทรงกลมฟ้า สังเกต และเชื่อมโยงจุดและเส้นสำคัญของแบบจำลองทรงกลมฟ้ากับ
ท้องฟ้าจริง และอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟ้า และระบบศูนย์สูตร
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของจุดและเส้นสำคัญของระบบพิกัดขอบฟ้า (K)
2. สร้างแบบจำลองท้องฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้าพร้อมทั้งระบุจุดและเส้นสำคัญบนท้องฟ้า (P)
3. สามารถนำความรู้เรื่องทรงกลมฟ้ามาใช้ในการประมาณละติจูดที่เราอยู่ได้ (A)
2. สาระสำคัญ
ทรงกลมฟ้าเป็นทรงกลมสมมติขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางของโลกเป็นจุดศูนย์กลางของวงกลมและมีดาวอยู่บนผิวในของทรงกลม โดยมีเส้นแบ่งครึ่งทรงกลมเป็นวงกลมใหญ่ที่แบ่งครึ่งทรงกลมออกเป็น 2 ซีก โดยทรงกลมฟ้ามี 2 แบบ คือ ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้าและทรงกลมฟ้าแบบมีเส้นขอบฟ้า การหมุนของทรงกลมฟ้าจะทำให้เราเห็นการเคลื่อนที่ของดวงดาวแตกต่างกันเมื่อเราสังเกตที่ตำแหน่งแตกต่างกันของโลก
3. เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
3.1 การระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าตามระบบพิกัดขอบฟ้า
4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีจิตสาธารณะ
2. มีจิตวิทยาศาสตร์
5. สมรรถนะสำคัญ
5.1 ความสามารถในการคิด
5.2 ความสามารถในการสื่อสาร
5.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน
สร้างแบบจำลองท้องฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า
7. กิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
(เพื่อเฝ้าระวังการแพร่เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019)
ก่อนการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ได้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลและตามศักยภาพผู้เรียนจัดกิจกรรมกลุ่มที่ส่งเสริมความช่วยเหลือเกื้อxxxลกันในชั้นเรียน
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทรงกลมท้องฟ้า เพื่อประเมินความรู้ ของนักเรียน ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูกระตุ้นความสนใจในการเรียนของนักเรียนโดยใช้คำถาม
- เมื่อนักเรียนสังเกตดวงดาวบนท้องฟ้าจะเห็นว่า ดาวเคลื่อนที่ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
- เพราเหตุใดในเวลาเดียวกันของแต่ละฤดูจึงเห็นดาวต่างกัน
- ดาวบนท้องฟ้าอยู่ห่างจากโลกเท่ากันทุกดวงหรือไม่
ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้รูป ในหนังสือเรียนหน้า 4 และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ ตัวอย่างคำถามต่อไปนี้
- ถ้านักเรียนยืนในที่โล่งดังรูป และสังเกตท้องฟ้าโดยรอบ นักเรียนจะเห็นลักษณะของท้องฟ้าเป็น อย่างไร
แนวคำตอบ ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน เช่น มีขนาดกว้างใหญ่ไพศาล และมีลักษณะคล้ายครึ่งทรงกลมครอบเราไว้
- นักเรียนมองเห็นอะไรบ้างบนท้องฟ้า
แนวคำตอบ ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ ทางช้างเผือก
- หากเราต้องการสังเกตดาวดวงเดิมเราจะสามารถบอกตำแหน่งของดาวดวงนั้นได้อย่างไร
แนวคำตอบ ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน
ชั่วโมงที่ 2
4. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า “ถ้าเราจะบอกตำแหน่งของดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้า เราจะใช้ อะไรเป็นจุดอ้างอิง”จากนั้นให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1 จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า
5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรมและร่วมกันอภิปรายผล
ชั่วโมงที่ 3
6. ครูตั้งประเด็นคำถามเพื่อเชื่อมโยงความรู้ดังนี้ “จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าสามารถนำมาใช้
ระบุตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าได้อย่างไร จากนั้นให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.2 การระบุตำแหน่งดาว
ในระบบพิกัดขอบฟ้า
7. ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายผลพร้อมทั้งตอบคำถามท้ายกิจกรรม
ชั่วโมงที่ 4
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
8. ครูอธิบายเพิ่มเติมการระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าตามระบบพิกัดขอบฟ้า เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
9. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยใช้คำถามในหนังสือเรียนหน้า 8 “จากภาพให้ระบุพิกัด
ดาว A B และ C ในระบบพิกัดขอบฟ้า”
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
10. ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทรงกลมท้องฟ้า
11. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และจากการนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทรงกลมท้องฟ้า - แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พันธุกรรม - ตามสภาพจริง
- ตรวจการปฏิบัติกิจกรรม ใบปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1
ใบปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนำเสนอ ผลงาน/ผล - แบบประเมินการนำเสนอผลงาน - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
- สังเกตความมีจิตวิทยาศาสตร์ - แบบประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
9. สื่อการเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 6
9.2 สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก สสวท. learning space http://www.scimath.org
9.3 โปรแกรมดูดาว เช่น โปรแกรม stellarium
9.4 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทรงกลมท้องฟ้า
9.5 ใบกิจกรรมที่ 1.1 จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า
9.6 ใบกิจกรรมที่ 1.2 การระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า
10. ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ( ก่อนการนำแผนการสอนไปใช้ )
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
(นางอุไรวรรณ ปัญญาศิลป์)
11. ความคิดเห็นของรองผู้บริหารสถานศึกษา ( ก่อนการนำแผนการสอนไปใช้ )
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
(นางนวลนิตย์ ถาวงษ์กลาง)
12. ถอดบทเรียน (เศรษฐกิจพอเพียง)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไขปัญหา/อุปสรรค
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................ครูผู้สอน
(……………………………………….)
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ..........................................ผู้อำนวยการโรงเรียน
(นายสยาม เครือผักปัง)
................/......................................./..................
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทรงกลมท้องฟ้า
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องคำตอบท้ายข้อความ
ที่ถูก หรือเครื่องหมาย ลงในช่องคำตอบท้ายข้อความที่ผิด
ข้อที่ ข้อความ คำตอบ
1 ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตกตรงตามตำแหน่ง
เดิมทุกวัน
2 การขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดวงดาว เกิดจากการหมุนรอบตัวเอง
ของโลก
3 ตอนเที่ยงของทุกวันดวงอาทิตย์จะปรากฏเหนือศีรษะของผู้สังเกต
4 การกำหนดทิศมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
5 ตำแหน่งของดาวเหนือจะอยู่สูงจากขอบฟ้าเป็นมุมเงยที่มีค่าเท่ากับละติจูดของผู้สังเกต
6 มุมทิศเป็นมุมที่วัดตามแนวเส้นขอบฟ้าจากทิศเหนือไปทางทิศตะวันออก
7 ฤดูเกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนหมุนของโลกเอียง
8 ในฤดูร้อนช่วงเวลากลางวันจะยาวกว่าเวลากลางคืน
9 สาเหตุที่ช่วงเวลากลางวันและกลางคืนยาวไม่เท่ากันเนื่องจากระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์แตกต่างกันในรอบปี
10 แกนหมุนของโลกเอียงทำมุมประมาณ 23.5 องศากับแนวตั้งฉากของระนาบ การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
11 ถ้าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
12 เวลาท้องถิ่นของแต่ละประเทศแตกต่างกัน
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทรงกลมท้องฟ้า
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องคำตอบท้ายข้อความ
ที่ถูก หรือเครื่องหมาย ลงในช่องคำตอบท้ายข้อความที่ผิด
ข้อที่ ข้อความ คำตอบ
1 ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตกตรงตามตำแหน่ง
เดิมทุกวัน
แนวคำตอบ ดวงอาทิตย์ไม่ได้ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก ตรงตามตำแหน่งเดิมทุกวัน เช่นในช่วงฤดูร้อนดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือ ตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือในช่วงฤดูหนาวดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้ ตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้
2 การขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดวงดาว เกิดจากการหมุนรอบตัวเอง
ของโลก
3 ตอนเที่ยงของทุกวันดวงอาทิตย์จะปรากฏเหนือศีรษะของผู้สังเกต
แนวคำตอบ ในเวลาเที่ยงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ไม่ได้ผ่านจุดเหนือศีรษะ
ของผู้สังเกตทุกวัน ขึ้นอยู่กับตำแหน่งละติจูดของผู้สังเกต
4 การกำหนดทิศมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
5 ตำแหน่งของดาวเหนือจะอยู่สูงจากขอบฟ้าเป็นมุมเงยที่มีค่าเท่ากับละติจูดของผู้สังเกต
6 มุมทิศเป็นมุมที่วัดตามแนวเส้นขอบฟ้าจากทิศเหนือไปทางทิศตะวันออก
7 ฤดูเกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนหมุนของโลกเอียง
8 ในฤดูร้อนช่วงเวลากลางวันจะยาวกว่าเวลากลางคืน
9 สาเหตุที่ช่วงเวลากลางวันและกลางคืนยาวไม่เท่ากันเนื่องจากระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์แตกต่างกันในรอบปี
แนวคำตอบ การที่กลางวันกลางคืนยาวไม่เท่ากันเนื่องจากการเอียงของแกนโลก ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
10 แกนหมุนของโลกเอียงทำมุมประมาณ 23.5 องศากับแนวตั้งฉากของระนาบ การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
11 ถ้าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
แนวคำตอบ ถ้าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะตกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
12 เวลาท้องถิ่นของแต่ละประเทศแตกต่างกัน
ใบกิจกรรมที่ 1.1 จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
2. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
3. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
4. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
5. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
จุดประสงค์กิจกรรม
1. อธิบายความหมายของจุดและเส้นสำคัญของระบบพิกัดขอบฟ้า
2. สร้างแบบจำลองท้องฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้าพร้อมทั้งระบุจุดและเส้นสำคัญบนท้องฟ้า
เวลาทำกิจกรรม 50 นาที
วัสดุ-อุปกรณ์
1. เอกสารความรู้ เรื่อง จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า 1 ชุด
2. ตุ๊กตาขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร 1 ตัว
3. ปากกาเคมีแบบลบได้ 1 ด้าม
4. พลาสติกครึ่งทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 เซนติเมตร 2 ชิ้น
5. กระดาษเทาขาวขนาด A4 1 แผ่น
6. กาวยางน้ำ 1 หลอด
วิธีการทำกิจกรรม
1. ศึกษาความรู้ เรื่อง จุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้าจากเอกสารที่กำหนดให้
2. สร้างแบบจำลองทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้าตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
2.1 วาดเส้นขอบฟ้าบนกระดาษเทาขาวให้มีขนาดเท่ากับพลาสติกครึ่งทรงกลม
2.2 กำหนดทิศทั้งสี่บนเส้นขอบฟ้า จากนั้นติดตุ๊กตาแทนตำแหน่งผู้สังเกตตรงตำแหน่งจุดตัดของทิศหลักทั้งสี่
2.3 สร้างท้องฟ้าของผู้สังเกต โดยวางครึ่งทรงกลมพลาสติกประกบให้พอดีกับเส้นขอบฟ้า จากนั้น ใช้พลาสติกครึ่งทรงกลมอีกชิ้นหนึ่งประกบด้านล่างให้ตรงกันพอดี
3. ระบุเส้นขอบฟ้า ระนาบขอบฟ้า จุดเหนือศีรษะ จุดใต้เท้า และเส้นเมริเดียนบนแบบจำลองท้องฟ้า
4. สรุป และนำเสนอผลการทำกิจกรรม
สรุปผลการทำกิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกิจกรรมที่ 1.2 การระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
2. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
3. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
4. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
5. ชื่อ.....................................................สกุล ...........................................เลขที่..........
จุดประสงค์กิจกรรม
1. อธิบายวิธีการหามุมทิศและมุมเงยของดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า
2. ระบุตำแหน่งของดาวที่กำหนดตามระบบพิกัดขอบฟ้า
เวลา 50 นาที
วัสดุ-อุปกรณ์
1. เอกสารความรู้ เรื่องการระบุตำแหน่งของดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า 1 ชุด
2. แบบจำลองทรงกลมฟ้าจากกิจกรรม 1.1 1 ชุด
3. ปากกาเคมีแบบลบได้ 1 ด้าม
4. ภาพโปรแทรกเตอร์ครึ่งวงกลม 1 แผ่น
วิธีการทำกิจกรรม
1. ศึกษาความรู้เรื่องการระบุตำแหน่งของดาวในระบบพิกัดขอบฟ้าจากเอกสารที่กำหนด
2. ระบุตำแหน่งของดาวบนทรงกลมฟ้าจากพิกัดดาวที่กำหนดให้
ดาว A มุมทิศ 45 องศา มุมเงย 60 องศา หรือ (45o, 60o)
ดาว B มุมทิศ 180 องศา มุมเงย 45 องศา หรือ (180o, 45o)
ดาว C มุมทิศ 0 องศา มุมเงย 15 องศา หรือ (0o, 15o)
ดาว D มุมทิศ 90 องศา มุมเงย -30 องศา หรือ (90o, -30o)
ดาว E มุมทิศ 270 องศา มุมเงย 10 องศา หรือ (270o, 10o)
3. สรุป และนำเสนอผลการทำกิจกรรม
สรุปผลการทำกิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คำถามท้ายกิจกรรมที่ 1.2
1. การระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดของฟ้าใช้ค่าอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การวัดมุมทิศและมุมเงยมีวิธีการอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ดาวดวงใดบ้างที่ปรากฏอยู่เหนือขอบฟ้า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ดาวดวงใดที่ไม่ปรากฏเหนือขอบฟ้า ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ดาว D กำลังขึ้นจากขอบฟ้าหรือกำลังตกลับขอบฟ้า ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ถ้าผู้สังเกตหันหน้าไปทางทิศใต้จะพบดาวดวงใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. ดาว E กำลังจะขึ้น หรือำลังจะตก หรือตกลับขอบฟ้าไปแล้ว ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยคำถามท้ายกิจกรรมที่ 1.2
1. การระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดของฟ้าใช้ค่าอะไรบ้าง
ใช้ค่ามุมทิศ และ มุมเงย
2. การวัดมุมทิศและมุมเงยมีวิธีการอย่างไร
การวัดมุมทิศ เริ่มจากจุดทิศเหนือไปทางทิศตะวันออกตามแนวเส้นขอบฟ้าถึงเส้นวงกลมดิ่งที่ลากผ่านดาวมีค่าตั้งแต่ 0-360 องศาส่วนการวัดมุมเงย เป็นค่าของมุมที่วัดจากเส้นขอบฟ้าไปตามเส้นวงกลมดิ่งถึงตำแหน่งดาวมุมเงยมีค่าได้ตั้งแต่ 0-90 องศา และมีค่าติดลบเมื่อดาวอยู่ต่ำกว่าขอบฟ้า
3. ดาวดวงใดบ้างที่ปรากฏอยู่เหนือขอบฟ้า
ดาว A B C และ E
4. ดาวดวงใดที่ไม่ปรากฏเหนือขอบฟ้า ทราบได้อย่างไร
ดาว D เพราะค่ามุมเงยติดลบ แสดงว่าดาวอยู่ใต้ขอบฟ้า
5. ดาว D กำลังขึ้นจากขอบฟ้าหรือกำลังตกลับขอบฟ้า ทราบได้อย่างไร
กำลังจะขึ้นจากขอบฟ้า เพราะยังอยู่ใต้ขอบฟ้าทางทิศตะวันออก
6. ถ้าผู้สังเกตหันหน้าไปทางทิศใต้จะพบดาวดวงใด
พบดาว B เพราะดาว B มีมุมทิศ 180 องศาซึ่งตรงตำแหน่งจุดทิศใต้
7. ดาว E กำลังจะขึ้น หรือำลังจะตก หรือตกลับขอบฟ้าไปแล้ว ทราบได้อย่างไร
กำลังจะตก เพราะยังอยู่เหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันตก
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแบบจำลองของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 การออกแบบ
2 แบบจำลองสัมพันธ์กับเนื้อหา
3 การเลือกใช้วัสดุ
4 ความคิดสร้างสรรค์
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
เกณฑ์การประเมินผลงานแบบจำลอง
ประเด็นที่ประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. การออกแบบ ออกแบบแบบจำลองก่อนลงมือปฏิบัติ วางแผนและดำเนินการสร้างชิ้นงานได้สอดคล้องกับเนื้อหา ออกแบบแบบจำลองก่อนลงมือปฏิบัติ วางแผนและดำเนินการสร้างชิ้นงานได้สอดคล้องกับเนื้อหาเป็นส่วนใหญ่ ออกแบบแบบจำลองก่อนลงมือปฏิบัติ วางแผนและดำเนินการสร้างชิ้นงานได้สอดคล้องกับเนื้อหาบางส่วน สร้างแบบจำลองได้สอดคล้องกับเนื้อหาบางส่วน โดยไม่ได้ออกแบบและวางแผนดำเนินการ
2. แบบจำลองสัมพันธ์กับเนื้อหา แบบจำลองที่สร้างสัมพันธ์กับเนื้อหา
และสามารถอธิบายข้อมูลได้ครบถ้วน แบบจำลองที่สร้างสัมพันธ์กับเนื้อหา
และสามารถอธิบายข้อมูลเป็นส่วนใหญ่ แบบจำลองที่สร้างสัมพันธ์กับเนื้อหา
และสามารถอธิบายข้อมูลบางส่วน แบบจำลองที่สร้างสัมพันธ์กับเนื้อหาบางส่วน
3. การเลือกใช้วัสดุ เลือกใช้วัสดุได้เหมาะสม และใช้งบประมาณอย่างประหยัด เลือกใช้วัสดุได้เหมาะสม แต่ใช้งบประมาณสูง เลือกใช้วัสดุได้เหมาะสมพอสมควร และใช้งบประมาณสูง เลือกใช้วัสดุไม่เหมาะสม และใช้งบประมาณสูงมาก
4. ความคิด
สร้างสรรค์ ผลงานแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ และเป็นระบบ ผลงานแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่เป็นระบบ ผลงานมีความน่าสนใจ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลกใหม่ ผลงานไม่มีความน่าสนใจ และไม่แสดงถึงแนวคิดแปลกใหม่
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทำกิจกรรม
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
3 การบันทึก สรุปและนำเสนอผลการทำกิจกรรม
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
ประเด็นที่ประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. การปฏิบัติกิจกรรม ทำกิจกรรมตามขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง ทำกิจกรรมตามขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจต้องได้รับคำแนะนำบ้าง ต้องให้ความช่วยเหลือบ้างในการทำกิจกรรม และการใช้อุปกรณ์ ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการทำกิจกรรม และการใช้อุปกรณ์
2. ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม มีความคล่องแคล่วในขณะทำกิจกรรมโดยไม่ต้องได้รับคำชี้แนะ และทำกิจกรรมเสร็จทันเวลา มีความคล่องแคล่วในขณะทำกิจกรรมแต่ต้องได้รับคำแนะนำบ้าง และทำกิจกรรมเสร็จทันเวลา ขาดความคล่องแคล่วในขณะทำกิจกรรมจึงทำกิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา ทำกิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา และทำอุปกรณ์เสียหาย
3. การบันทึก สรุปและนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม บันทึกและสรุปผลการทำกิจกรรมได้ถูกต้อง รัดกุม นำเสนอผลการทำกิจกรรมเป็นขั้นตอนชัดเจน บันทึกและสรุปผลการทำกิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การนำเสนอผลการทำกิจกรรมยังไม่เป็นขั้นตอน ต้องให้คำแนะนำในการบันทึก สรุป และนำเสนอผลการทำกิจกรรม ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการบันทึก สรุป และนำเสนอผลการทำกิจกรรม
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา
2 ความคิดสร้างสรรค์
3 วิธีการนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใช้ประโยชน์
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............/................./...................
เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3 การทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 ความมีน้ำใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............/.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ ชื่อ–สกุล
ของนักเรียน การแสดง
ความคิดเห็น การยอมรับฟังคนอื่น การทำงาน
ตามที่ได้รับมอบหมาย ความมีน้ำใจ การมี
ส่วนร่วมในการปรับปรุง
ผลงานกลุ่ม รวม
15
คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1 0
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น
8.2 แสดงออกถึงการมีน้ำใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น
8.3 เข้าช่วยเหลือในการสืบค้นข้อมูลหรือแนวทางการกิจกรรม
สรุป
9. มีจิตวิทยาศาสตร์ 4.1 ความสนใจการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
4.2 พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4.3 ศรัทธาและเห็นคุณค่าและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4.4 ตั้งใจหรือเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน
4.5 เลือกใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการคิดและปฏิบัติ
4.6 ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมโดยใคร่ครวญไตร่ตรองถึงผลดีและผลเสีย
สรุป
ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
22-27 ดีเยี่ยม
16-21 ดี
10-15 ผ่าน
ต่ำกว่า 10 ไม่ผ่าน
ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน
คะแนน 3 2 1 0
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพดี (2) ขึ้นไป
สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีมาก
(3) ดี
(2) พอใช้
(1) ปรับปรุง
(0) สรุปผลการประเมิน
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
1.4 เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย