เผยแพร่การออกแบบหน่วย 1-65 ครูรจนา แสงสุธา
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 รหัสวิชา ว33265 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 12 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางรจนา แสงสุธา
1. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมและผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม สาระโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
3. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์ จากการศึกษาตำแหน่งดาวบนทรงกลมฟ้า และปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการดำรงชีวิต
ผลการเรียนรู้
5. อธิบายมุมห่างที่สัมพันธ์กับตำแหน่งในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตำแหน่งปรากฏของ ดาวเคราะห์ที่สังเกตได้จากโลก
6. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าและ/หรือ กล้องโทรทรรศน์
2. สาระสำคัญ
ตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ขึ้นอยู่กับตำแหน่งในวงโคจรของดาวเคราะห์ ซึ่งระบุได้ด้วยมุมห่าง โดยมุมห่างของดาวเคราะห์อาจมีทิศทางไปทางตะวันออกหรือตะวันตก ดาวเคราะห์วงในมีการ เปลี่ยนแปลง มุมห่างในช่วงแคบ ทำให้การปรากฏของดาวอยู่ใกล้ขอบฟ้าในช่วงเช้ามืดหรือหัวค่ำ มีตำแหน่งหลักในวงโคจร 4 ตำแหน่ง ส่วนดาวเคราะห์วงนอกจะมีการเปลี่ยนแปลงมุมห่างได้ถึง 180 องศา ทำให้เห็นดาวปรากฏอยู่บนท้องฟ้าตลอดคืน และมีตำแหน่งหลักในวงโคจร 4 ตำแหน่ง
ดาวเคราะห์อาจปรากฏในตำแหน่งที่ใกล้เคียงกัน หรืออาจใกล้เคียงกับดวงจันทร์หรือดวงอาทิตย์ เกิดเป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ และการวางแผนเพื่อสังเกตปรากฏการณ์ดังกล่าวทำได้โดยใช้แผนภาพแสดงมุมห่างของดาวเคราะห์
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง(K)
3.1.1 สาระการเรียนรู้ (ประจำหน่วยการเรียนรู้)
3.1.1.1 โลกและดาวเคราะห์ทุกดวงหมุนรอบตัวเองและ โคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทาง ทิศตะวันออก หรือในทิศทวนเข็มนาฬิกาจาก มุมมองด้านบน คนบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์ มีตำแหน่งปรากฏแตกต่างกันในช่วงวันเวลาต่างๆ เพราะดาวเคราะห์มีมุมห่างที่แตกต่างกัน
3.1.1.2 มุมห่างของดาวเคราะห์คือ มุมระหว่างเส้นตรง ที่เชื่อมระหว่างโลกกับดาวเคราะห์กับเส้นตรงที่ เชื่อมระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์เมื่อวัดบน เส้นสุริยวิถีโดยดาวเคราะห์อาจอยู่ห่างจาก ดวงอาทิตย์ไปทางทิศตะวันออก หรือทางทิศ ตะวันตก ซึ่งมีการเรียกชื่อตามตำแหน่งของ ดาวเคราะห์ในวงโคจร ขนาดของมุมห่าง และทิศทางของมุมห่าง
3.1.1.3 ดาวเคราะห์ที่มีมุมห่างต่างกันจะมีตำแหน่งปรากฏ บนท้องฟ้าแตกต่างกัน โดยตำแหน่งปรากฏของ ดาวเคราะห์วงในจะอยู่ใกล้ขอบฟ้าในช่วงเวลา ใกล้รุ่งหรือเวลาหัวค่ำ ส่วนตำแหน่งปรากฏ ของดาวเคราะห์วงนอกจะสามารถเห็นได้ในช่วงเวลาอื่น ๆ นอกจากนี้มุมห่างยังสามารถ นำมาอธิบายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์เช่น ดาวเคียงเดือน ดาวเคราะห์ชุมนุม ดาวเคราะห์ ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
3.1.1.4 นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างกล้องโทรทรรศน์เพื่อ ศึกษาแหล่งกำเนิดของรังสีหรืออนุภาคในอวกาศ ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้แก่คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรด แสง อัลตราไวโอเลต และรังสีเอ็กซ์
3.1.1.5 ดาวเคราะห์ชุมนุม (planetary grouping) เป็นปรากฏการณ์ที่เราเห็นดาวเคราะห์ตั้งแต่ 3 ดวงขึ้นไป มาอยู่ใกล้กันบนท้องฟ้าเมื่อสังเกตจากพื้นโลก วันที่ 8 สิงหาคม 2553 เกิดปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุมขึ้น โดยมีดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวเสาร์ มาเกาะกลุ่มอยู่ใกล้กันภายในระยะ 5° เหนือท้องฟ้าทิศตะวันตก ในเวลาหัวค่ำ
3.1.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
3.2 ทักษะกระบวนการ (P)
โดยใช้ทักษะการสังเกต สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำเสนอกิจกรรมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
3.3.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจำหน่วยการเรียนรู้)
-
3.3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้)
3.3.2.1 มีจิตสาธารณะ
3.3.2.2 มีจิตวิทยาศาสตร์
3.4 สมรรถนะ
3.4.1 ความสามารถในการคิด
3.4.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.4.3 ความสามารถในการสื่อสาร
3.4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3.4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. ชิ้นงาน
4.1 ถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตำแหน่งปรากฏ ของดาวเคราะห์
5. การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
1. ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน/การทดลอง/ปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป
2. ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของหน่วยการเรียนรู้ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป
3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล/สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม/คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล /แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม /แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
6. กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้เทคนิคการสอนกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
(เพื่อเฝ้าระวังการแพร่เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019)
6.1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง ตำแหน่งในวงโคจรและตำแหน่งปรากฏของดาวศุกร์
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 4 ชั่วโมง
6.2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ตำแหน่งของดาวอังคารในวงโคจรและการสังเกตเห็นดาวอังคาร
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 4 ชั่วโมง
6.3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับดาวเคราะห์
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง
6.4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง
รวมทั้งหมด 12 ชั่วโมง
7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
7.1.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 6
7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์
7.1.3 ใบกิจกรรมที่ 2.1 ตำแหน่งในวงโคจรและตำแหน่งปรากฏของดาวศุกร์
7.1.4 ใบกิจกรรมที่ 2.2 ตำแหน่งของดาวอังคารในวงโคจรและการสังเกตเห็นดาวอังคาร
7.1.5 ใบกิจกรรมที่ 2.3 มุมห่างและคาบการโคจรของดาวเคราะห์
7.1.6 ใบกิจกรรมที่ 2.4 ตามหาปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม
7.1.7 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์
7.2 แหล่งการเรียนรู้
7.2.1 ห้องสมุด
7.2.2 อินเทอร์เน็ต
7.2.3 เว็บไซต์ สสวท. learning space http://www.scimath.org
8. สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
8.1 ด้านความรู้ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8.2 ด้านทักษะ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8.4 ด้านมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางรจนา แสงสุธา)
ตำแหน่ง ครู
9. ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นางอุไรวรรณ ปัญญาศิลป์)
ตำแหน่ง ครู
10. ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นางนวลนิตย์ ถาวงษ์กลาง)
รองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมบ้านแก้งวิทยา
11. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายสยาม เครือผักปัง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมบ้านแก้งวิทยา
.........../................./..............