การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น
ผู้วิจัย นางสาวจุฑามาศ ทรวงฤดี
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา
หน่วยงำน โรงเรียนบ้านดงเย็น อ าเภอน าพอง จังหวัดขอนแก่น
ปีที่วิจัย ปีการศึกษา 2562
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น ในครั งนี เป็นการวิจัยและการพัฒนา (Research and
Development) โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1) วิเคราะห์ข้อมูลพื นฐานในการบริหารงาน
วิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น 2) สร้างและ
พัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานักเรียนของ
โรงเรียนบ้านดงเย็น 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น และ 4) ประเมินความพึงพอใจในการพัฒนา
รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียน
บ้านดงเย็น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั งนี จ านวน 66 คน ได้แก่ 1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนบ้ านดงเย็น อ าเภอน าพอง จังห วัดขอนแก่น ปีการศึกษ า 2562 จ านวน 4 คน
2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั นพื นฐาน โรงเรียนบ้านดงเย็น อ าเภอน าพอง จังหวัดขอนแก่น
ปีการศึกษา 2562 จ านวน 8 คน 3) นักเรียน โรงเรียนบ้านดงเย็น อ าเภอน าพอง จังหวัดขอนแก่น
ปีการศึกษา 2562 จ านวน 27 คน 4) ผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนบ้านดงเย็น อ าเภอน าพอง จังหวัด
ขอนแก่น ปีการศึกษา 2562 จ านวน 27 คน (โดยก าหนดให้นักเรียน 1 คน มีผู้ปกครอง 1 คน)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของ
รูปแบบ แบบสอบถาม และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื อหา (Content Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า
1. การวิเคราะห์ข้อมูลพื นฐานในการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น พบว่า จากผลการประเมินภายในสถานศึกษาจุดที่
ควรพัฒนาที่เป็นสภาพปัญหาคือ โรงเรียนยังขาดบุคลากร บุคลากรไม่ครบชั นเรียนและไม่ครบ
ตามวิชาเอก ครูควรได้รับการพัฒนาตรงตามความสามารถและความถนัด ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ใน
ด้านการจัดการเรียนการสอน เช่น โทรทัศน์คอมพิวเตอร์เป็นต้น และจากสภาพปัญหาดังกล่าว
ครูมีความต้องการที่จะพัฒนาตนเองในการจัดการความรู้ด้านการบริหารงานวิชาการเพื่อให้เกิด
ประสิทธิผลต่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ส าหรับน าไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักเรียนให้สูงขึ นอีกด้วย
2. การสร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น เป็นรูปแบบที่พัฒนาขึ นจากแนวคิดทฤษฎี
ของนักวิชาการที่หลากหลาย มีชื่อว่า "PA-MAT Model"ประกอบด้วยขั นตอน ดังนี P : Planning
=ขั้นการวางแผน A : Action =ขั้นการปฏิบัติM : Management=ขั้นการจัดการ A : Application=
ขั้นใช้ประโยชน์และ T : Test =ขั นตรวจสอบประเมินผล ในการบริหารงานวิชาการทั ง 6 ด้าน
ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
นักเรียน ได้ดำเนินการพัฒนารูปแบบตามขั นตอนการวิจัย โดยการจัดให้มีประชุมเชิงปฏิบัติการ
และดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจ าปีการศึกษา 2562
และผลการประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบ ปรากฏว่า รูปแบบการบริหารงาน
วิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น มีความ
เหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X= 4.45, S.D.= 0.54)
3. การใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
นักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น หลังจากที่ได้มีการน ารูปแบบไปใช้ในการจัดให้มีประชุมเชิง
ปฏิบัติการ และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ ประจ าปีการศึกษา
2562 ได้ผลการทดลองใช้หลังการด าเนินการพัฒนารูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X= 4.34.S.D.= 0.74)
และนักเรียน มีผลการทดลองใช้หลังการพัฒนารูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก(X= 4.36, S.D.= 0.72)
4. การประเมินความพึงพอใจในการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มี
ประสิทธิผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานักเรียนของโรงเรียนบ้านดงเย็น ปรากฏว่า ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั นพื นฐาน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน มีความพึงพอใจ
ในการใช้รูปแบบดังกล่าว โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X= 4.51, S.D.= 0.73)