ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
อ่านต่อได้ที่: http://www.kruwandee.com/index.php?module=forum-edit&qid=84473
การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านพงษ์เพชรอนุสรณ์
เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานตามมารฐานการศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก
1.1 มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง
มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านร่างกาย ระดับ 3
1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านอารมณ์ ระดับ 3
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านสังคม ระดับ 3
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 70 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านสติปัญญา ระดับ 3
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 1. พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2561
2. หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยมีความยืดหยุ่น เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการปฏิบัติ และสอดแทรกตามบริบทของท้องถิ่น
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 1. จัดครูเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ตามเกณฑ์ ครู : นักเรียน 1 : 25
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 1.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กอีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบและจัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.สถานศึกษาส่งเสริมให้.ครูจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล
3.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว
4.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองเกี่ยวกับวิชาชีพหรือการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย(อย่างน้อย 1 หลักสูตร/ปีการศึกษา)
5.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC) เป็นวิธีการในการพัฒนา(อย่างน้อย 12 ชม/ปีการศึกษา)
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 1. ห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีห้องน้ำในอาคารเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ห้องเรียนมีมุมวิทยาศาสตร์ มุมบล็อค มุมหนังสือ มุมเกมการศึกษา มีสื่อบัตรคำ สื่อตุ๊กตา สื่อฉากนิทาน/โรงนิทาน
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 1.จัดให้มีสื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนของชั้นปฐมวัย เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
2.สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมในการใช้งาน
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 1.สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2.มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนด
3.จัดทำรายงานผลการประเมินผลประจำปี นำผลประเมินปรับปรุงสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 1.ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ อยู่ในระดับ 4
-มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล
-มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
-มีการจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ด้าน
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
1.ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข อยู่ในระดับ 4
-ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมต่อพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคมและร่างกายให้เด็กระดับปฐมวัย
อย่างน้อย 6 กิจกรรมหลัก
-ครูจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์กับเด็กระดับปฐมวัยทุกคน ตอบสนองการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล
3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 1.ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย อยู่ในระดับ 4
-ครูจัดห้องเรียนมีความสะอาดและมีอากาศถ่ายเท ปลอดภัย แสงสว่างเพียงพอ และเด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การจัดมุมต่าง ๆ
-ครูมีสื่อเทคโนโลยีเหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 1.ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก อยู่ในระดับ 4
-ครูประเมินเด็กระดับปฐมวัยตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
-ครูนำผลการประเมินพัฒนาทุกด้านของเด็กระดับปฐมวัยใช้ในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาการของเด็กต่อไป
การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านพงษ์เพชรอนุสรณ์
เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียนการสื่อสาร และการคิดคำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1. ผู้เรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับดีขึ้น
2. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ในระดับดีขึ้นไป
3. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม อยู่ในระดับดีขึ้นไป
4. ผู้เรียนร้อยละ 70 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการทำงาน ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย
5. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2564 ที่สถานศึกษากำหนด
6. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความรู้ทักษะพื้นฐานตามช่วงวัย และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ในระดับดีขึ้นไป
1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย
3. ผู้เรียนร้อยละ 80 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
สถานศึกษามีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และนโยบายของรัฐบาล
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาดำเนินงานพัฒนางานวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ครูและบุคลากรร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา อย่างน้อย 1 หลักสูตร/ปีการศึกษา
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและปลอดภัย
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษามีการจัดระบบการจัดหา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ครูร้อยละ 75 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูร้อยละ 80 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญหาท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 1. ครูร้อยละ 75 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการปฏิสัมพันธ์เชิงบวก อันได้แก่ ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนและครู
2. ครูร้อยละ 80 มีการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน และเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 1. ครูร้อยละ 75 มีการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
2. ครูทุกคน มีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 1. ครูร้อยละ 80 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ ให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
2. มีกระบวนการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
สรุปผลการดำเนินงานของโรงเรียนบ้านพงษ์เพชรอนุสรณ์ ปีการศึกษา 2564
ตามค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ผลที่เกิด
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก
1.1 มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง
มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านร่างกาย ระดับ 3 1.เด็กชั้นอนุบาล 1-3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คนมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 33 คน คิดเป็นร้อยละ 82.89
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
2.รายงานโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
3.กิจกรรมห้องเรียนคุณธรรม
4.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
5.แบบบันทึกน้ำหนักส่วนสูง
6.แบบบันทึกการดื่มนม
7.แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านอารมณ์ ระดับ 3 1.เด็กชั้นอนุบาล 1-3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คนเด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ 31 คน คิดเป็นร้อยละ 81.87
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
2.รายงานโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
3.กิจกรรมห้องเรียนคุณธรรม
4.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านสังคม ระดับ 3 1.เด็กชั้นอนุบาล 1-3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คนเด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม 33 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
2.กิจกรรมห้องเรียนคุณธรรม
3.รายงานโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
4.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยร้อยละ 70 ขึ้นไป มีผลการพัฒนาการด้านสติปัญญา ระดับ 3
1.เด็กชั้นอนุบาล 1-3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คนเด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้31 คน คิดเป็นร้อยละ 78.94
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
2.รายงานโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
3.กิจกรรมห้องเรียนคุณธรรม
4.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 1. พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2561
2. หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยมีความยืดหยุ่น เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการปฏิบัติ และสอดแทรกตามบริบทของท้องถิ่น 1.โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
2.มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
3.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น
4.มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความแตกต่างของเด็กปกติและเด็กพิเศษให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.แผนการจัดประสบการณ์
2.รายงานโครงการวัดผล ประเมินผล
3.หลักสูตรปฐมวัย
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 1. จัดครูเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ตามเกณฑ์ ครู : นักเรียน 1 : 25 โรงเรียนจัดครูให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนปฐมวัย มีครูปฐมวัยจัดการเรียนการสอนให้เพียงพอและเหมาะสมกับชั้นเรียน ตามเกณฑ์ 1 : 25 ทั้งชั้นอนุบาล 1 อนุบาล 2และอนุบาล 3
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานผลประเมินตนเองประจำปี
2.รายงานโครงการพัฒนาบุคลากรครู
3.เกียรติบัตรการอบรมของครู
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 1.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กอีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบและจัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.สถานศึกษาส่งเสริมให้.ครูจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล
3.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว
4.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองเกี่ยวกับวิชาชีพหรือการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย(อย่างน้อย 1 หลักสูตร/ปีการศึกษา)
5.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC) เป็นวิธีการในการพัฒนา(อย่างน้อย 12 ชม/ปีการศึกษา) 1.โรงเรียนศึกษาส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กอีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบและจัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.โรงเรียนส่งเสริมให้.ครูจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล
3.โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว
4.โรงเรียนส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองเกี่ยวกับวิชาชีพหรือการจัดการ
เรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย(อย่างน้อย 1 หลักสูตร/ปีการศึกษา)
5.โรงเรียนส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC) เป็นวิธีการในการพัฒนา(อย่างน้อย 12 ชม/ปีการศึกษา)
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.แผนการจัดประสบการณ์
2.รายงานโครงการพัฒนาบุคลากรครู
3.กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC)
4.รายงานโครงการนิเทศภายใน
5.รายงานโครงการวิจัยชั้นเรียน
6.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 1. ห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีห้องน้ำในอาคารเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ห้องเรียนมีมุมวิทยาศาสตร์ มุมบล็อค มุมหนังสือ มุมเกมการศึกษา มีสื่อบัตรคำ สื่อตุ๊กตา สื่อฉากนิทาน/โรงนิทาน โรงเรียนส่งเสริมให้จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ
1.ห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีห้องน้ำในอาคารเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
2.ห้องเรียนมีมุมวิทยาศาสตร์ มุมบล็อค มุมหนังสือ มุมเกมการศึกษา มีสื่อบัตรคำ สื่อตุ๊กตา สื่อฉากนิทาน/โรงนิทาน
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานการผลิตสื่อ
2.รายงานโครงการนิเทศภายใน
3.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
4.ภาพถ่ายมุมประสบการณ์/บรรยากาศในห้องเรียน
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 1.จัดให้มีสื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนของชั้นปฐมวัย เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
2.สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมในการใช้งาน
โรงเรียนส่งเสริมให้บริการสื่อเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู
1.จัดให้มีสื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนของชั้นปฐมวัย เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
2.จัดให้สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมในการใช้งาน
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
2.รายงานโครงการนิเทศภายใน
3.รายงานโครงการปรับปรุงซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างและนวัตกรรมใหม่ๆ
4.สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 1.สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2.มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนด
3.จัดทำรายงานผลการประเมินผลประจำปี นำผลประเมินปรับปรุงสถานศึกษา
โรงเรียนมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โดยโรงเรียนได้มีการจัดทำ
1.มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2.แผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนด
3.รายงานผลการประเมินผลประจำปี นำผลประเมินปรับปรุงสถานศึกษา
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.รายงานผลประเมินตนเองประจำปี
2.มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3.แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
4.บันทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา/ครู/ผู้ปกครอง
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 1.ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ อยู่ในระดับ 4
-มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล
-มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
-มีการจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ด้าน ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ มีผลการประเมินระดับ 4
1.ครูมีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล
2.ครูมีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
3.ครูมีการจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ด้าน
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.แผนการจัดประสบการณ์
2.ข้อมูลเด็กรายบุคคล
3.หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
4.รายงานโครงการนิเทศภายใน
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
1.ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข อยู่ในระดับ 4
-ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมต่อพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคมและร่างกายให้เด็กระดับปฐมวัย
อย่างน้อย 6 กิจกรรมหลัก
-ครูจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์กับเด็กระดับปฐมวัยทุกคน ตอบสนองการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข มีผลการประเมินระดับ 4
1.ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมต่อพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคมและร่างกายให้เด็กระดับปฐมวัย
อย่างน้อย 6 กิจกรรมหลัก
2.ครูจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์กับเด็กระดับปฐมวัยทุกคน ตอบสนองการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.แผนการจัดประสบการณ์
2.รายงานโครงการบ้านวิทยาศาสตร์
3.รายงานการผลิตสื่อการเรียนการสอน
4.รายงานโครงการนิเทศภายใน
5.ภาพมุมประสบการณ์/บรรยากาศในห้องเรียน
6.สื่อการเรียนกานสอน
3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 1.ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย อยู่ในระดับ 4
-ครูจัดห้องเรียนมีความสะอาดและมีอากาศถ่ายเท ปลอดภัย แสงสว่างเพียงพอ และเด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การจัดมุมต่าง ๆ
-ครูมีสื่อเทคโนโลยีเหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีผลการประเมินระดับ 4
1.ครูจัดห้องเรียนมีความสะอาดและมีอากาศถ่ายเท ปลอดภัย แสงสว่างเพียงพอ และเด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การจัดมุมต่าง ๆ
2.ครูมีสื่อเทคโนโลยีเหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.ภาพถ่ายห้องเรียน/ภาพถ่ายมุมต่างๆในห้องเรียน
2.รายงานโครงการนิเทศภายใน
3.รายงานโครงการปรับปรุงซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างและนวัตกรรมใหม่ๆ
4.สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 1.ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก อยู่ในระดับ 4
-ครูประเมินเด็กระดับปฐมวัยตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
-ครูนำผลการประเมินพัฒนาทุกด้านของเด็กระดับปฐมวัยใช้ในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาการของเด็กต่อไป ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มีผลการประเมินระดับ 4
1.ครูประเมินเด็กระดับปฐมวัยตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
2.ครูนำผลการประเมินพัฒนาทุกด้านของเด็กระดับปฐมวัยใช้ในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาการของเด็กต่อไป
หลักฐานร่องรอยที่สนับสนุน
1.ผลงาน/ใบงานเด็ก
2.รายงานโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย
3.แบบประเมินพัฒนาการ/แบบสังเกต
4.ตารางกิจกรรมประจำวัน
สรุปผลการดำเนินงานของโรงเรียนบ้านพงษ์เพชรอนุสรณ์ ปีการศึกษา 2564
ตามค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ผลการดำเนินการ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1. ผู้เรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ในระดับดีขึ้นไป
3. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม อยู่ในระดับดีขึ้นไป
4. ผู้เรียนร้อยละ 70 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการทำงาน ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย
5. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2564 ที่สถานศึกษากำหนด
6. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีความรู้ทักษะพื้นฐานตามช่วงวัย และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ในระดับดีขึ้นไป 1. ผู้เรียนร้อยละ 81.61 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
2. ผู้เรียนร้อยละ 81.61 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น
และแก้ปญหา สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
3. ผู้เรียนร้อยละ 72.41 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
4. ผู้เรียนร้อยละ 74.71 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาตนเองอย่างเหมาะสม ปลอดภัย สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
5. ผู้เรียนร้อยละ 72.41 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนด (ประกาศกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2564) ได้แก่
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ผลการดำเนินการ
ภาษาไทย ร้อยละ 43 ได้ร้อยละ…65.52…… คณิตศาสตร์ ร้อยละ 41 ได้ร้อยละ…60.92…
วิทยาศาสตร์ฯ ร้อยละ 38 ได้ร้อยละ…59.77…
สังคมศึกษาฯ ร้อยละ 49 ได้ร้อยละ…75.86…ประวัติศาสตร์ ร้อยละ 41 ได้ร้อยละ.70.11
สุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 69 ได้
ร้อยละ…95.40…ศิลปะ ร้อยละ 66 ได้
ร้อยละ…78.16…การงานอาชีพ ร้อยละ 59 ได้ร้อยละ…80.46…
ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 60 ได้ร้อยละ65.52
6. ผู้เรียนร้อยละ 82.76 มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในชั้นที่สูงขึ้น และการทำงานหรืองานอาชีพ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย
3. ผู้เรียนร้อยละ 80 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 1. ผู้เรียนร้อยละ 88.51 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
2. ผู้เรียนร้อยละ 94.38 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย
3. ผู้เรียนทุกคนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ผลการดำเนินการ
4. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในระดับดีขึ้นไป 4. ผู้เรียนร้อยละ 82.76 มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒน