LASTEST NEWS

25 พ.ย. 2567ล 1932/2567 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู และที่แก้ไขเพิ่มเติม 25 พ.ย. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย จำนวน 81 อัตรา - รายงานตัว 28 พ.ย. 2567 25 พ.ย. 2567สพป.สมุทรสาคร เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 14 อัตรา รายงานตัว 3 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเมืองสุรินทร์ รับสมัครครูอัตราจ้าง 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 25-27 พฤศจิกายน 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านระไซร์(เด่นพัฒนา) รับสมัครครูอัตราจ้าง วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 7,000.- บาท  24 พ.ย. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 11 อัตรา - รายงานตัว 4 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รับสมัครครูอัตราจ้างงานแนะแนว จำนวน 1 อัตรา เงินเดือน 15,000.- บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี รับสมัครครูอัตราจ้าง 3 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567โรงเรียนตากพิทยาคม รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 อัตรา ตั้งแต่ 23 พ.ย.-16 ธ.ค.2567 23 พ.ย. 2567สพป.อำนาจเจริญ รับสมัครพนักงานราชการ ตำแหน่งพี่เลี้ยง 5 อัตรา วุฒิม.3-ปวส.ทุกสาขา เงินเดือน 10,430-13,800 บาท สมัครระหว่างวันที่ 2-12 ธันวาคม 2567

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์

usericon

ชื่อเรื่อง    การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
    ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es)
    เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
    เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ผู้วิจัย        นางสาวสิริยลริยา วศิริอารยา                
ปีที่วิจัย        2562
โรงเรียน        เทศบาลสวนสนุก เทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) และมีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก ที่กำลังเรียนอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เป็นหน่วยการวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (2) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย คือ (3.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (3.2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ (4) เพื่อประเมินรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวนวิธีสอนละ 32 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัค-ติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่อง แสงและการมองเห็น จำนวน 6 แผนฯ ใช้เวลาเรียน 12 ชั่วโมง (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นแบบปรนัยเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ซึ่งมีค่าความยากง่าย ระหว่าง 0.20-0.80 มีค่าอำนาจจำแนก 0.20 ขึ้นไป และมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.760 (3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจ ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 1 ฉบับ 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Pair)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน พบว่า มีความสอดคล้อง โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.00 ทุกรายการ และพบว่า ควรมีการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
2. ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ร่างรูปแบบการเรียนรู้ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้รูปแบบการเรียนรู้ ควรมีองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ หลักการแนวคิดทฤษฎี หลักการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และการประเมินผล ซึ่งผลการประเมินรูปแบบการเรียนรู้ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.60
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีประสิทธิภาพที่ 85.16/85.31 และมีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.70 หรือคิดเป็นร้อยละ 70.00 พบว่า
    3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
        3.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
    4. ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแสงและการมองเห็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.45

The Title    The development of learning model
using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle
to develop of learning achievement and scientific process skills
“Light and Visibility” for Prathom Suksa 4.
The Author    Miss. Siriyolriya Wasiriaraya
Year        2019
School        Saunsanuk Municipal School, Khonkaen Municipality,
Khonkaen Province,
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ABSTRACT
This research was research and development designed. The purposes of this research were (1) to investigate the state, problem and the guidelines the development learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, (2) to construct and develop the learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, (3) to try out the learning model with sub-objectives which are : (3.1) to compare the learning achievement between before and after learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, (3.2) to compare the develop scientific process skills between before and after learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, and (4) to evaluate and update the development of the learning model. The cluster random sampling were applied for 32 of Prathom Suksa 4/1 of Saunsanuk Munipal School in the 2nd semester, B.E.2562 academic year. The tools used to develop the learning model were (1) the small group meeting record, (2) the in-depth interview, (3) the participatory meeting record and (4) the evaluation of the learning model. The research tools used for data collection consisted of (1) 6 Science subject lesson plans using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4. (2) 30 items with 4 multiple choices of the achievement test which its difficulty index is from 0.20-0.80, the discrimination is over 0.20 and the reliability is 0.760, (3) 30 items of the improve scientific process skills test, and (4) 20 items satisfaction questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test (Pair).
The research findings were summarized as follows :
1. The state, problem and the guidelines the development of the learning model. Using the documentary analysis and the interview of 5 experts were consistent and found that the development of learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4.
2. The result of the development of the learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, found that the form of learning management with 5 components, including principles, concepts theories learning management principles learning process learning support, and evaluation in which the evaluation form is based on opinions of experts. The most suitable is the average of 4.60.
3. The experimental results using the instructional the learning model : the efficiency of the learning model reached the 85.16/85.31 efficiency, thus it was fit to the 80/80 criterion. Besides, the effectiveness index was 0.70 or 70 percent. And found that
3.1 The learning achievement between before and after learning, it
was clearly found that after learning, the students who learnt Science subject the strand had higher learning achievement than before learning at .01 level.
3.2 For the scientific process skills, the result showed that after
learning the students got higher skills than before learning with the statistical significance at .01 level.
4. Evaluation results of the participants were satisfied with the learning model using Constructivism with 7E’s Inquiry Learning Cycle to develop of learning achievement and scientific process skills “Light and Visibility” for Prathom Suksa 4, which the overall aspect was evidently found at a high level. The mean was 4.45.
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^