LASTEST NEWS

04 ก.ย. 2567สพป.ร้อยเอ็ด เขต 3 รับสมัครพนักงานราชการ 2 อัตรา วุฒิม.6 - ปริญญาตรีทุกสาขา ตั้งแต่ 9-13 กันยายน 2567 04 ก.ย. 2567ล่าสุด..ท้องถิ่น มีตำแหน่งว่าง เปิดสอบ 6,238 อัตรา ม.บูรพา ออกข้อสอบ คาดว่า มีผู้สมัครมากกว่า 5แสนคน 03 ก.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ (ต่อ) 03 ก.ย. 2567สพฐ.ปรับโฉมการประชุม ผอ.สพท.ทุกคนต้องโชว์ผลงาน 03 ก.ย. 2567โรงเรียนวัดคิรีวิหาร(สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกประถมศึกษา หรือวิชาเอกภาษาไทย เงินเดือน 15,000.-บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 5 ก.ย.2567 03 ก.ย. 2567ด่วน!!! สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เปิดสอบตำรวจ 1,530 อัตรา รับสมัคร 12-20 ก.ย.2567 03 ก.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 02 ก.ย. 2567( ไม่มีวุฒิครูก็สมัครได้ ) เครือโรงเรียนมารีวิทย์ ประกาศรับสมัครครู 33 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 30 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกพลศึกษา เงินเดือน 8,000 บาท ผ่านทดลองงาน 6 เดือน รับ 8,500 บาท สมัคร 2-13 ก.ย.2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนวัดแปลงเกต รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกภาษาอังกฤษหรือวิชาเอกทั่วไป เงินเดือน 15,800.- บาท ตั้งแต่วันที่ 16-20 กันยายน 2567

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

usericon

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ชื่อผู้รายงาน นางบัวเรือน สิงหร
ตำแหน่ง : ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
สังกัด : โรงเรียนบัวใหญ่ สังกัดองค์การบริหารส่วนนครราชสีมา
ปีการศึกษา 2563

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 4 โรงเรียนบัวใหญ่ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 40 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา 2) แผนจัดการเรียนรู้ใช้เวลาแผนละ 2 ชั่วโมง จานวน 8 แผน 3) แบบทดสอบความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จานวน 40 ข้อ 40 คะแนน 4) แบบวัดทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 30 ข้อ 40 คะแนน และ 5) แบบวัดความพึงพอใจ จานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t – test (Dependent Samples)
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียกว่า “ICADE Model” โดยมีองค์ประกอบ มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการแนวคิดทฤษฎีพื้นฐาน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 4) ระบบสังคม 5) หลักการตอบสนอง 6) ระบบสนับสนุน ทั้งนี้ได้สังเคราะห์ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้น คือ ขั้นการระบุประเด็นการคิด (Identifying thinking issues) ขั้นการสร้างทางเลือกการคิด (creating alternative thinking) ขั้นการวิเคราะห์ทางเลือก (alternative analysis) ขั้นการตัดสินใจ (decision stage) และขั้นการประเมินผลการคิด (evaluation of thinking) เมื่อนาไปหาประสิทธิภาพ (E1/E2) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนบัวใหญ่ จานวน 40 คน ได้ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน เท่ากับ 83.62/82.93 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80
2. ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3. ทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีโดยมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนชีววิทยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการคิดเชิงมโนทัศน์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความพึงพอใจรายด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอนที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และแสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ผู้เรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติการคิดด้วยตนเองและร่วมกันเรียนรู้กับผู้อื่น มีการเรียงเนื้อหาและกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมและสรุปความรู้ เชื่อมโยงนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^