การประเมินโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โรงเรียนบัวงามวิ
ผู้วิจัย นายติณณ บุญแต่ง
ปีที่วิจัย 2563
บทคัดย่อ
การวจัยในครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพอประเมินโครงการส่งเสริม ความเป็นเลิศทางวชาการ โรงเรียนบัวงามวิทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใชในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหารจำนวน 2 คน คณะกรรมการสถานศึกษาจำนวน 13 คน ครูจำนวน 43 คน นักเรียนจำนวน
265 คน และผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 265 คน โดยการเปิดตารางเปรียบเทียบของเครชซี่และ
มอรแกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณ ค่า การสัมภ าษณ์ และการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใชในการวเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวจัยการประเมินโคร งการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชาการ โรงเรียนบัวงามวทยา อ งค์ ก ารบ ริห ารส่ ว น จั งห วด อ บ ล ราช ธ านี ต าม รูป แ บ บ ก ารป ระเมิ น ซิ ป เxxx ย ส ข อ งส ตั ฟ เฟ ล บี ม (Stufflebeam’s CIPPIEST Model) พบว่า
1. การประเมินโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชาการ โรงเรียนบัวงามวทยา องค์การ บริหารส่วนจังหวดอบลราชธานี ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความเห็นของผู้บริหาร คณะกรรมการ สถานศึกษาและ และ ครูเป็นรายด้าน พบว่า 1) ด้านบริบท มีความเหมาะสมในระดับมาก 2) ด้านปัจจย นำเข้า มีความเหมาะสมในระดับมาก 3)ด้านกระบวนการ มีความเหมาะสมในระดับมาก4) ด้านผลผลิต มีความเหมาะสมในระดับ มาก 5) ด้านผลกระทบ มีความเหมาะสมในระดับ มาก 6) ด้านประสิทธผล มีความเหมาะสมในระดับมาก 7) ด้านความยั่งยืน มีความเหมาะสมในระดับมาก และ8) ด้านการ ถ่ายโยงความรู้ มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง เมื่อพจารณาความเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ และ ผู้ปกครอง พบว่า ทั้ง 8 ด้านมีความ เหมาะสมในระดับมาก 1) ด้านบริบท มีความเหมาะสมในระดับมาก
2) ด้านปัจจัยนำเข้า มีความเหมาะสมใน ระดับมาก 3) ด้านกระบวนการ มีความเหมาะสมในระดับมาก
4) ด้านผลผลิต มีความเหมาะสมในระดับมาก 5) ด้านผลกระทบ มีความเหมาะสมในระดับ มาก
6) ด้านประสิทธผล มีความเหมาะสมในระดับมาก 7) ด้านความยั่งยืน มีความเหมาะสมในระดับมาก
และ 8)ด้านการถ่ายโยงความรู้ มีความเหมาะสมในระดับมาก
2. แนวทางการส่งเสริมความสำเร็จของโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชาการ โรงเรียน บัวงามวิทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัดอบลราชธานี พบว่า ต้องมีการกำหนดแผนการพฒนาอย่างเป็น ขั้นตอนและต่อเนื่อง มุ่งเพื่อให้เกิดการสงเสริมพัฒนาผู้เรียน ทั้งให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีต่อกิจกรรมในโครงการ เพื่อนำความรู้และทักษะไปให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ทั้ง ต่อตนเองและผู้อื่น