รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดคำมาตราตัวสะกด
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ
การอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยี
คิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ระหว่างก่อนและ
หลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน
SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2 3) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกด
แสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึก
ทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับ
เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านชะอ า (ชะอ าวิทยาคาร) จ านวน 1
ห้องเรียนรวม 23 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก
โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 9 เล่ม 2) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้แบบฝึก
ทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับ
เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จ านวน
18 ชั่วโมง 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ทักษะการอ่านออกเขียนได้โดยใช้แบบฝึก
ทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับ
เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
แบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับ
(ข)
เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จ านวน 10 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลโดย
ค านวณหาค่าเฉลี่ย (
) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าทีแบบกลุ่มตัวอย่างไม่อิสระ
และค่าดัชนีประสิทธิผล
ผลการศึกษาพบว่า
1. แบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน
SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2 มีทั้งหมด 9 เล่ม มีประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากับ 89.81/87.97 โดยสูงกว่าเกณฑ์
ค่าประสิทธิภาพที่ก าหนดไว้ คือ 80/80
2 . ผ ล ก า รพั ฒ น าทั กษ ะก ารอ่ าน อ อก เขี ยนได้ ของนั กเรียนที่ เรียนโด ยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับ
เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
หลังเรียน สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3. ค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชุดค ามาตราตัวสะกดแสน
สนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.81 หรือคิดเป็นร้อยละ 81.00
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้
ชุดค ามาตราตัวสะกดแสนสนุก โดยใช้วิธีการสอน SQ5R ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด