LASTEST NEWS

25 พ.ย. 2567ล 1932/2567 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู และที่แก้ไขเพิ่มเติม 25 พ.ย. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย จำนวน 81 อัตรา - รายงานตัว 28 พ.ย. 2567 25 พ.ย. 2567สพป.สมุทรสาคร เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 14 อัตรา รายงานตัว 3 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเมืองสุรินทร์ รับสมัครครูอัตราจ้าง 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 25-27 พฤศจิกายน 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านระไซร์(เด่นพัฒนา) รับสมัครครูอัตราจ้าง วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 7,000.- บาท  24 พ.ย. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 11 อัตรา - รายงานตัว 4 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รับสมัครครูอัตราจ้างงานแนะแนว จำนวน 1 อัตรา เงินเดือน 15,000.- บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี รับสมัครครูอัตราจ้าง 3 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 29 พ.ย.2567 23 พ.ย. 2567โรงเรียนตากพิทยาคม รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 อัตรา ตั้งแต่ 23 พ.ย.-16 ธ.ค.2567 23 พ.ย. 2567สพป.อำนาจเจริญ รับสมัครพนักงานราชการ ตำแหน่งพี่เลี้ยง 5 อัตรา วุฒิม.3-ปวส.ทุกสาขา เงินเดือน 10,430-13,800 บาท สมัครระหว่างวันที่ 2-12 ธันวาคม 2567

การประเมินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะ

usericon

ชื่อเรื่อง : การประเมินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของ
นักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
ชื่อผู้ประเมิน : นายรังสรรค์ ยังน้อย
ปี ที่ประเมิน : ปี การศึกษา 2562 -2563
บทคัดย่อ
การประเมินครั้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินด้านบริบทของโครงการพัฒนากลุ่มภาคี
เครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
สมุทรปราการ2) ประเมินด้านปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการด าเนินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไข
ปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ3) ประเมิน
ด้านกระบวนการดำเนินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการและ 4) ประเมินด้านผลผลิตของโครงการพัฒนา
กลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
สมุทรปราการ ดังนี ้ 4.1) จ านวนการเกิดเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา หลังจากดำเนินโครงการ
4.2) จำนวนผู้เรียนของวิทยาลัยในปี การศึกษา 2564 หลังจากดำเนินโครงการ 4.3) ความพึงพอใจของ
บุคลากรวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ 4.4) ความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหาการ
ทะเลาะวิวาท) ที่มีต่อกิจกรรมภายใต้โครงการ 4.5) ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่ม
เสี่ยงปัญหาการทะเลาะวิวาท) ที่มีต่อโครงการ 4.6) ความพึงพอใจของผู้อำนวยการ และครูแนะแนว
โรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ และ 4.7) ความพึงพอใจของคณะทำงาน
กลุ่มภาคีเครือข่าย ที่มีต่อโครงการ โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ของ
สตัฟเฟิลบีม ประชากร ได้แก่ 1) บุคลากรวิทยาลัย จำนวน 73 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และ
บุคลากรทางการศึกษา 2) คณะทำงานกลุ่มภาคีเครือข่าย จ านวน 23 คน 3) นักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยง
ปัญหาการทะเลาะวิวาท)ของวิทยาลัย จ านวน 87 คน และ 4) ผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยง
ด้านปัญหาการทะเลาะวิวาท) ของวิทยาลัย จำนวน 87 คน และ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่1) ข้าราชการตำรวจ
ผู้อำนวยการสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความ
ประพฤตินักเรียนและนักศึกษา รวมจำนวน 30 คน และ 2) ผู้อำนวยการ และครูแนะแนวโรงเรียน
เครือข่ายความร่วมมือของวิทยาลัย จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบ
บันทึกข้อมูลปัญหาการทะเลาะวิวาท จำนวน 1 ฉบับ แบบบันทึกข้อมูลจำนวนนักเรียนนักศึกษา จำนวน
1 ฉบับ และแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5ระดับ จำนวน 8 ฉบับ รวมจ านวน 10 ฉบับ สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการประเมินพบว่า
1. ผลการประเมินโครงการด้านบริบท โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ทุกข้อ
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ทุกข้อ
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต
4.1 ผลการประเมินจำนวนการเกิดเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษาของ
วิทยาลัย พบว่า ในปี การศึกษา 2563 มีจ านวนลดลงคิดเป็นร้อยละ 83 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.2 ผลการประเมินจำนวนนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัย พบว่า ในปี การศึกษา
2564 มีจ านวนนักเรียนนักศึกษาเพิ่มขึ ้น คิดเป็นร้อยละ 35.80 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.3 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของบุคลากรวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ พบว่า โดย
ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4.4 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหาการทะเลาะ
วิวาท)ของวิทยาลัย ที่มีต่อกิจกรรมหลัก จำนวน 3 กิจกรรม ภายใต้โครงการ โดยภาพรวมมีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ทุกกิจกรรม
4.5 ผลผลิตด้านความพึงพอใจ ของผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหา
การทะเลาะวิวาท) ของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ทุกข้อ
4.6 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของผู้อำนวยการ และครูแนะแนวโรงเรียนเครือข่าย
ความร่วมมือของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4.7 ผลผลิตด้านความพึงพอใจ ของคณะท างานกลุ่มภาคีเครือข่าย ที่มีต่อโครงการ
โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^