LASTEST NEWS

29 ก.ค. 2567ชี้ครู 80% เริ่มเข้าใจการเรียนการสอนแบบ Active Learning 29 ก.ค. 2567โรงเรียนอนุบาลนางรอง(สังขกฤษณ์อนุสรณ์) รับสมัครครูอัตราจ้าง เงินเดือน 9,140 บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 1 ส.ค.2567 29 ก.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ (ต่อ) 29 ก.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 28 ก.ค. 2567รัฐบาล เชิญชวนส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ประชาชน สวมใส่เสื้อเหลืองตราสัญลักษณ์ฯ ทุกวันจันทร์โดยพร้อมเพรียง 28 ก.ค. 2567กรมอุตุนิยมวิทยา เปิดสอบบรรจุเข้ารับราชการ 12 อัตรา วุฒิปวส. เงินเดือน 12,650-13,920 บาท สมัครตั้งแต่บัดนี้ - 14 สิงหาคม 2567 28 ก.ค. 2567มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เปิดสอบบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย 73 อัตรา สมัครทางอินเทอร์เน็ตตั้งแต่บัดนี้ - 8 สิงหาคม 2567 28 ก.ค. 2567สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ รับสมัครสอบบรรจุเข้ารับราชการ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ 20 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 1-7 สิงหาคม 2567 28 ก.ค. 2567สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ รับสมัครสอบบรรจุเข้ารับราชการ ตำแหน่งเภสัชกรปฏิบัติการ ตั้งแต่วันที่ 1-7 สิงหาคม 2567 28 ก.ค. 2567โรงเรียนอนุบาลนานาชาติตากสินระยอง รับสมัครครูอัตราจ้าง และลูกจ้างชั่วคราว 11 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 31 ก.ค.2567

เรื่องรูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึ

usericon

งานวิจัย     เรื่องรูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
        โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา)
ผู้วิจัย         พิมพ์ใจ โตหริ่ม ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
หน่วยงาน     โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนครนครปฐม
        จังหวัดนครปฐม ปีการศึกษา 2563 – 2564

บทคัดย่อ
    การวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียน เทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความจําเป็นในการพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) เพื่อสร้างและพัฒนา รูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบ การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการ บริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคี พิทยา) มีขั้นตอนการศึกษา 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research: Ry) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความ จําเป็นในการพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ดวัดพระ งาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนครนครปฐม จังหวัดนครปฐม จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานและความจําเป็นในการพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนครนครปฐม จังหวัด นครปฐม ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ 0.91 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development: D,) การ สร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนครนครปฐม จังหวัดนครปฐม จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามการใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อประเมินก่อน-หลังการใช้รูปแบบ ค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.92 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย (Research: R2) การศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการ บริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนครนครปฐม จังหวัดนครปฐม จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ความก้าวหน้าด้านการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบ ค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามเท่ากับ 0.89 ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development: D2) การประเมินพฤติกรรมของผู้บริหารและประสิทธิผลของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) หลังการใช้รูปแบบการบริหารงานแบบมี ส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) สังกัดเทศบาลนคร นครปฐม จังหวัดนครปฐม จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ใช้สอบถามในวงกว้าง เกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริหาร และประสิทธิผลของสังกัดเทศบาลนครนครปฐม จังหวัดนครปฐม หลังการใช้ รูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (K) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบข้อมูลก่อนและหลังการใช้รูปแบบการ บริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) โดยใช้สูตร t-test

    ผลการวิจัย พบว่า
    1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความจําเป็นในการพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านอยู่ในระดับปานกลางคือ ด้านความเป็นอิสระต่อความ รับผิดชอบในงาน และด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านที่อยู่ในระดับน้อยคือ ด้านการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ร่วมกัน ด้านการไว้วางใจกัน เรียงตามลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านความเป็นอิสระต่อความ รับผิดชอบในงาน รองลงมาคือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านการตั้งเป้ามายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน และด้าน การไว้วางใจกันมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าด้านอื่น ๆ
    2. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) ประกอบด้วยแนวทางการปฏิบัติ 5 ป. ดังนี้ 1) ปฏิรูป คือ การ ปรับเปลี่ยนการบริหารให้มีคุณภาพสูงขึ้นกว่าเดิมตามแนวทาง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 2) ปรับปรุง คือ พัฒนากระบวนการบริหารให้สมบูรณ์ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น 3) ปฏิบัติ คือ ดำเนินการ ตามแผนพัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 4) ประสาน คือ สร้างความเข้าใจ/ความร่วมมือจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรียน และร่วมกันจัดการเรียนรู้ให้เกิดกับผู้เรียน อย่างมีประสิทธิภาพ และ 5) ประกันคุณภาพ คือ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
    3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและด้านการ ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) พบว่า โดยภาพรวมมี ค่าเฉลี่ยหลังการใช้รูปแบบฯ มากกว่าก่อนใช้รูปแบบฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01
    4. ผลการประเมินพฤติกรรมของผู้บริหาร และประสิทธิผลของโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) หลังการใช้รูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียน
เทศบาล ๑ วัดพระงาม (สามัคคีพิทยา) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยระดับปฏิบัติการอยู่ในระดับมาก สมควรนํารูปแบบ การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมไปใช้อย่างต่อเนื่องได้ต่อไป
Title: Participatory management model in development of quality management for education, Tessaban 1 WatPhaNgam Samakee Pitthaya School Reacher: Pimjai Torim, Deputy Director, Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School Institution: Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School, under Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom. Year: 2020 -2021
Abstract
    Participatory management model in development of quality management for education, Tessaban 1 WatPha Ngam SamakeePitthaya School. The purpose of this study is to study the basic information and the necessity of developing participatory management model. To develop the quality of education management of Tessaban 1 WatPhangam SamakeePitthaya School, to create and develop a participatory management model of education, to study the results of the experimental using the participatory management model
to develop the quality of education management and assess and improve the model of
participatory management model on the development of educational management quality. The study process has 4 steps.
    Step 1 Research (Research: R1) study the basic information and the necessity of developing participatory management model. The target groups used in this research include administrators, teachers, personnel, and school committees of Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School, under Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom, 53 people. The material used in the research are basic and necessary inquiries of developing participatory management model. The reliability of questionnaire is 0.91.
    Step 2 Development (Development: D1) creation and develop a participatory management model of education. The target groups used in this research include administrators, teachers, personnel, and school committees of Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School, under Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom, 53 people. The material used in the research are questionnaires of participatory management model to assess before and after using the model. The reliability of questionnaire is 0.92.
    Step 3 Research (Research: R2) to study the results of the experimental using the
participatory management model to develop the quality of education. The target groups used
in this research include administrators, teachers, personnel, and school committees of
Tessaban 1 WatPhaNgam Samakee Pitthaya School, under Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom, 53 people. The material used in the research are questionnaires on progress
in promoting learning achievement before and after using the model. The reliability of questionnaire is 0.89.
    Step 4 Development (Development: D2) the behavior and effectiveness assessment of Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School, after using the participatory management model to develop the quality of education. The target groups used in this research include
administrators, teachers, personnel, and school committees of Tessaban 1 WatPhaNgam
SamakeePitthaya School, under Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom. 53 people. The
material used to collect data is the behavior of the administrator and effectiveness
questionnaire of Nakhon Pathom Municipality, Nakhon Pathom, after using the participatory management model to develop the quality of education. The reliability of questionnaire is 0.91. The statistics used for data analysis are percentage (%), mean (x), standard deviation
(SD) and compare to the data before and after using the participatory management model to develop the quality of education, Tessaban 1 WatPhaNgam Samakee Pitthaya School by using
the t-test formula.
    The results revealed that
    1. The results of this study are basic information and the necessity of developing participatory management model of Tessaban 1 WatPhaNgam SamakeePitthaya School overall
are moderate level. Considering each aspect, the moderate side is the independence of work
responsibility and commitment. The low-level aspect is the goals and common objectives and
trust. Sort by side with the highest average is independence of work responsibility, followed by commitment, the goals and common objectives and the trust side is on average less than the others aspects.
    2. The results of creation and develop a participatory management model of education, Tessaban 1 WatPha Ngam SamakeePitthaya School. It consists of 5 things as follows: 1) Reform is to adjust the management to have a higher quality than before according to The National Education Act, B.E. 2542 (1999). 2) Improvement is to develop a complete management process. More efficiency and effectiveness. 3) Practice is to implement a systematic and continuous educational development plan. 4) Coordinate is to create understanding/collaboration from all parties involved to support for the school and jointly manage the learning process for the learners effectively. And 5) Quality assurance is quality education management is in accordance with the problems and needs of local people.
    
    3. The results of the trial are conducted the participatory management model to improve the quality of educational management and the promotion of learning achievement
of Tessaban 1 WatPhaNgam Samakee Pitthaya School revealed that the overall average after
using than before using the model statistically significant at the .01 level.
    4. The result of the behavior and effectiveness assessment after using the participatory
management model to develop the quality of education management of Tessaban 1 WatPhaNgam Samakee Pitthaya School. Overall, the operating average is at a high level. It should continue to use the participatory management model.

ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^