การประเมินโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของ
2) เพื่อประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี 3) เพื่อประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี 4) เพื่อประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี กลุ่มเป้าหมายในการประเมินโครงการครั้งนี้ จำนวน 333 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 5 ฉบับ ได้แก่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการประเมินโครงการด้านบริบท (Context Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar= 4.62, S.D. = 0.55)
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar= 4.68, S.D. = 0.50)
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar= 4.62, S.D. = 0.53)
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar= 4.69, S.D. = 0.70)