เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ นางศุภวารี วงศ์พรหม
นางศุภวารี วงศพรหม ตําแหนง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมืองรอยเอ็ด จังหวัดรอยเอ็ด
2563
บทคัดยอ
รายงานผลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาขอมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2) สรางและหาคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 3) ทดลองใชและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 และ 4) ศึกษาผลการใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถ ในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3
4.1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดแกปญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ระหวางกอนและหลงั การใชร ปู แบบการจดั การเรยี นรสู าระเศรษฐศาสตรโ ดยใชป ญ หาเปน ฐาน เพอ่ื สง เสรมิ ความสามารถในการคดิ แกป ญ หาและพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 4.2)
เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ระหวางกอนและหลังการใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับจัดการเรียนรูดวยรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน
ชื่อเรื่อง
ผูวิจัย ปที่วิจัย
1
2
เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมเปาหมายที่ใชประกอบดวย1) กลุมทดลองใชเพื่อหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรูปแบบ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปที่ 3/2 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมืองรอยเอ็ด จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 28 คน และกลุมตัวอยางที่ใชประเมินผลการใชรูปแบบ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3/1 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมืองรอยเอ็ด จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 30 คน ทั้งสองกลุมไดมาโดยการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) ใชหองเรียนเปนหนวยการสุม เครื่องมือในการวิจัย ประกอบดวย
1) เครื่องมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดแก รูปแบบการจัดการเรียนรู และคูมือการใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 2. เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลและการประเมิน ไดแก 1. การเก็บรวบรวมขอมูลและการประเมินความเหมาะสม ไดแก แบบสอบถาม แบบวิเคราะหเอกสาร แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรียนรู แบบประเมินความเหมาะสมของคูมือการใชรูปแบบการจัดการเรียนรู 2. การประเมินผลการใชรูปแบบ ไดแก แบบทดสอบความสามารถในการคิดแกปญหา จํานวน 20 ขอ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 30 ขอ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ตอการเรียนดวยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู จํานวน 10 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน รอยละ และการทดสอบคาที (t-test) แบบ Dependent และการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา
1. การศึกษาปญหาและแนวทางแกไขดานการพัฒนาความสามารถในการคิดแกปญหา พบวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จํานวนรอยละ 63.33 มีผลการวัดประเมินความสามารถในการคิดแกปญหา อยูในระดับคะแนนต่ํากวารอยละ 50 ผลของการวิเคราะหขอมูลการศึกษาปญหาและแนวทางแกไขความสามารถในการคิดแกปญหาของนั กเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จากการสอบถามและการสัมภาษณครูผูสอน การสัมภาษณนักเรียน การสนทนากลุมครูผูสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 พบวา ครูผูสอนแตละระดับชั้นยังประสบปญหาอยูในการจัดการเรียนรูพัฒนาความสามารถในการคิดแกปญ หาในระดับมากที่สุด สวนแนวทางการแกไขและขอเสนอแนะของครูผูสอน ไดแก การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวยรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาดานทักษะการคิดแกปญหาดังกลาว
3
2.
ผลการวเิ คราะหข อ มลู พน้ื ฐานไดร ปู แบบการจดั การเรยี นรสู าระเศรษฐศาสตรโ ดยใชป ญ หาเปน ฐาน เพอ่ื สง เสรมิ ความสามารถในการคดิ แกป ญ หาและพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นชน้ั ประถม ศกึ ษาปท ่ี 3 มอี งคป ระกอบ ไดแ ก หลกั การ วตั ถปุ ระสงค เนอ้ื หา
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื และแหลง เรยี นรู และการวดั และประเมนิ ผล โดยกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู มขี น้ั ตอนในการจดั กจิ กรรม 7 ขน้ั ประกอบดว ย ขน้ั ท่ี 1
ขน้ั พบสถานการณป ญ หา (Encountered a problem : E) ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั ทําความเขา ใจปญ หา (Understand the problem : U)
ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ศกึ ษาคน ควา (Research : R) ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั ระดมพลงั สมอง (Brainstorming : B) ขน้ั ท่ี 5
ข น้ ั ป ร ะ ย กุ ต ใ ช ค ว า ม ร ู ( A p p l y K n o w l e d g e : A ) ข น้ ั ท ่ ี 6 ข น้ ั น ํา เ ส น อ ผ ล ง า น ( P r e s e n t a t i o n : P ) ข น้ ั ท ่ ี 7 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation : E)
3. ผลการทดลองใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 พบวา
3.1 ประสิทธิภาพของของรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีคาเทากับ 84.18/82.21 สอดคลองตามเกณฑที่กําหนดไว 80/80 และเปนรูปแบบการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ
3.2 ดัชนีประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 มีคาเทากับ 0.6560 ซึ่งแสดงวา รูปแบบการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น สงผลใหนักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 65.60
4. ผลการประเมินการใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 พบวา
4.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีความสามารถในการคิดแกปญหาหลังใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเป นฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4
4.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใชรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีความพึงพอใจตอการเรียนรูดวยรูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตรโดยใชปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดแกปญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถ มศึกษาปที่ 3 โดยรวมทุกดานอยูใน
ระดับมากที่สุด
คําสําคัญ : รูปแบบการจัดการเรียนรูสาระเศรษฐศาสตร, การใชป ญ หาเปน ฐาน, ความสามารถในการคดิ แกป ญ หา, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน