การใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์
งานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด (กวีธรรม
สาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
ผู้ศึกษา นายดนุวัศ นันตา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
ปีที่ศึกษา 2561
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ
หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวี
ธรรมสาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วยการ
เรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด (กวีธรรม
สาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อ
การเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด (กวีธรรมสาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์
จังหวัดอุตรดิตถ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนเทศบาล
วัดท้ายตลาด (กวีธรรมสาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2561จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน
การศึกษา ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด (กวีธรรมสาร)กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์
จังหวัดอุตรดิตถ์2) แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) หน่วยการเรียนรู้
ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด (กวีธรรมสาร)
กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวี
ธรรมสาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 30
ข้อ4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วย
การเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวีธรรม
สาร) กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ซึ่งเป็นแบบสอบถามความพึงพอใจแบบ
ประมาณค่า (Rating Scale) โดยมีมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ โดยแบบสอบถามความพึงพอใจ แบ่ง
ออกเป็น 3 ด้านและการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (
X
) ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (
S.D.
) สถิติที่แบบไม่อิสระ (t-test Dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า
1. ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ (
E1
) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (
E2
)
เท่ากับ 85.18/87.89 ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้ทางศิลปะ
หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน (
X
=21.47,
S.D
=4.39) และหลังเรียน (
X
=26.37,
S.D
=3.5) แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรับรู้
ทางศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ ทัศนธาตุสรรค์สร้างงานทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยภาพรวม
มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (
X
=4.80,
S.D.
=0.43)