LASTEST NEWS

26 พ.ย. 2567สพฐ. เข้ม สั่งครูล่วงละเมิดนักเรียนออกจากราชการทันที ย้ำดูแลสภาพจิตใจเด็กเป็นสำคัญ 26 พ.ย. 2567สพฐ.เล็งทำบัตรสุขภาพนักเรียนออนไลน์ 26 พ.ย. 2567ทำไมครูส่วนใหญ่ ไม่สนใจสมัครสอบเป็นศึกษานิเทศก์ 26 พ.ย. 2567ก.พ.ยังนิ่งปมทบทวนจ้างเหมาบริการ “ธนุ” ไม่รอแล้วสั่งทำสัญญาจ่ายเงิน ตามระเบียบกรมบัญชีกลาง 25 พ.ย. 2567ล 1932/2567 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู และที่แก้ไขเพิ่มเติม 25 พ.ย. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย จำนวน 81 อัตรา - รายงานตัว 28 พ.ย. 2567 25 พ.ย. 2567สพป.สมุทรสาคร เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 14 อัตรา รายงานตัว 3 ธันวาคม 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนเมืองสุรินทร์ รับสมัครครูอัตราจ้าง 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 25-27 พฤศจิกายน 2567 24 พ.ย. 2567โรงเรียนบ้านระไซร์(เด่นพัฒนา) รับสมัครครูอัตราจ้าง วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 7,000.- บาท  24 พ.ย. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย 11 อัตรา - รายงานตัว 4 ธันวาคม 2567

การพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธ

usericon

บทคัดย่อ
    บุษยา ราศรีมิน : การพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคำ การพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี๓ ฉะเชิงเทรา    
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคำ การพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี๓ ฉะเชิงเทรา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
และเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ การพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี๓ ฉะเชิงเทรา โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคำ กลุ่มตัวอย่าง คือ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม เป็นจำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 25 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้เวลาในการทดลอง 10 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคำ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
    ผลของการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 4.5 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลการทดลองระหว่างเรียนได้คะแนนเฉลี่ย (x ̅) เท่ากับ 14.80 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.89และคะแนนเฉลี่ยของผลการทดลองหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย (x ̅) เท่ากับ 18.36 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.85 และค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเรื่องการอ่านจับใจความจากเรื่องสั้น ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 74.00/91.80
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^