แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์ ชั้น ป.3
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
เรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โดย
นางสาวสุพัตรา ตาดม่วง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบ้านหนองสะแกสน
อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓
คำนำ
คำแนะนำสำหรับครูการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์
สิ่งที่ครูควรปฏิบัติ ก่อน – หลัง และขณะจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ มีดังนี้
1. ครูควรศึกษาและทำความเข้าใจวิธีการใช้ชุดการเรียนรู้ ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดผลและประเมินผลของชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ชัดเจน
2. ครูควรค้นคว้าและอ่านเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน คู่มือครู และหนังสือเสริมประสบการณ์ต่างๆในเรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อให้มีความรู้ความแม่นยำในเนื้อหาให้มากยิ่งขึ้น
3. ครูควรเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ล่วงหน้า และเตรียมสถานที่ตลอดจนสื่อต่างๆให้พร้อมก่อนใช้ชุดการเรียนรู้
4. ครูต้องเตรียมสื่อต่างๆที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน
5. ครูควรตรวจวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่ในชุดการเรียนรู้ให้เรียบร้อยทั้งก่อนและหลังใช้ชุดการเรียนรู้
6. ครูควรแนะนำให้นักเรียนอ่านทำความเข้าใจคำแนะนำสำหรับนักเรียน
ให้เข้าใจ
7. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้คำแนะนำกรณีที่นักเรียนไม่เข้าใจในกิจกรรมต่างๆ และพยายามกระตุ้นให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองให้มากที่สุด
8. หลังจากเรียนจบแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ครูและนักเรียนควรร่วมกันสรุปผลการใช้ชุดการเรียนรู้ตลอดจนปัญญาและข้อเสนอแนะ หลังการใช้ชุดการเรียนรู้ แต่ละครั้ง เพื่อนำไปปรับปรุงในการใช้ครั้งต่อไป
คำแนะนำสำหรับนักเรียนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียนรู้ แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้นนี้ จัดทำขึ้นเป็นนวัตกรรมสำหรับจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองและมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนใช้ได้ถูกต้อง โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ถึงความสำคัญในการศึกษาค้นคว้าและเป็น ดังนั้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำดังต่อไปนี้
1. ชุดการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถเรียนตามความสามารถ มีกิจกรรมให้นักเรียนทำ มีเนื้อหาให้นักเรียนอ่าน คำถามและเฉลย
2. นักเรียนควรทำความเข้าใจก่อนว่า ชุดการเรียนรู้ไม่ใช่การทดสอบ แต่มุ่งให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ
3. นักเรียนควรมีสมาธิและความซื่อสัตย์ต่อตนเองในขณะศึกษาเนื้อหา และปฏิบัติกิจกรรมไม่เปิดดูเฉลยคำตอบก่อน จนกว่านักเรียนจะทำคำถามเสร็จแล้ว จึงค่อยเปิดดูเฉลยคำตอบ
4. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาชุดการเรียนรู้ ควรทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานและคำถามหรือแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อนักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาจบแล้วพร้อมตรวจคำตอบกับเฉลยเพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรียน
5. ก่อนทำนักเรียนควรอ่านเนื้อหาให้เข้าใจให้ดีเสียก่อนและควรทำตามขั้นตอนไม่รีบร้อน ถ้ายังไม่เข้าใจให้ถามครูผู้สอน
6. ขอให้นักเรียนทำด้วยความมั่นใจ ถ้าทำไม่ได้หรือสงสัยพยายามดูเนื้อหาที่ผ่านมาหรือถามครู และคำตอบของนักเรียนสามารถตรวจดูกับเฉลยคำตอบได้ทันทีหลังจากนักเรียนทำกิจกรรมหรือตอบคำถามเสร็จแล้ว
7. เมื่อนักเรียนได้ศึกษาและทราบผลความก้าวหน้าของตนแล้ว ให้เก็บเอกสารหรือสิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนให้เรียบร้อย เพื่อพร้อมที่ผู้อื่นจะนำไปศึกษาได้ต่อไป
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำนำ 1
คำแนะนำสำหรับครูการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2
คำแนะนำสำหรับนักเรียนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
ใบความรู้ 5
ใบงานที่ 1 6
ใบงานที่ 2 7
ใบงานที่ 3 8
ใบงานที่ 4 9
ใบงานที่ 5 10
ใบงานที่ 6 11
ใบงานที่ 7 12
แบบทดสอบก่อนเรียน 13
แบบบันทึกคะแนน 14
แบบทดสอบก่อนเรียน
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. สิ่งใดที่ช่วยให้ร่างกายของมนุษย์เจริญเติบโต
ก. แสง ข. อากาศ
ค. น้ำ ง. อาหาร
2. ใน 1 วัน เราควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละกี่แก้ว
ก. 1-2 แก้ว
ข. 3-4 แก้ว
ค. 6-8 แก้ว
ง. กี่แก้วก็ได้
3. ข้อใดประกอบด้วยอาหารครบ 5 หมู่
ก. แกงจืดตำลึงหมูสับ ข้าวเปล่า
ข. โจ๊กหมู ขนมปัง
ค. ข้าวเหนียว ส้มตำ
ง. ไข่ดาว ไส้กรอก
4. สิ่งใดเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ก. อาหารและน้ำ
ข. อาหาร น้ำ และแสง
ค. อาหาร น้ำ และอากาศ
ง. อาหาร น้ำ อากาศ และแสง
5. บริเวณใดที่ควรหลีกเลี่ยงเพราะมีอากาศไม่บริสุทธิ์
ก. ริมชายทะเล
ข. บริเวณทุ่งนา
ค. ริมถนนที่มีรถติด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. 6. สิ่งใดถ้าเราขาดเพียงไม่กี่นาทีจะทำให้ตายได้
ก. อากาศ ข. อาหาร
ค. น้ำ ง. แสง
7. วัฏจักรของผีเสื้อมีกี่ระยะ
ก. 4 ระยะ ข. 3 ระยะ
ค. 2 ระยะ ง. 1 ระยะ
8. สัตว์ในข้อใดมีวัฏจักรชีวิตต่างจากพวก
ก. ผึ้ง ข. ไก่
ค. ยุง ง. ต่อ
9.
จากแผนภาพ เป็นวัฏจักรชีวิตของสัตว์ชนิดใด
ก. ผึ้ง
ข. แมลงปอ
ค. กวาง
ง. ปลา
10. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ในการศึกษาวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ก. เพื่อใช้ในการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่าง ๆ
ข. เพื่อใช้กำจัดสัตว์บางชนิดที่เป็นศัตรูพืช
ค. เพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ
ง. เพื่อใช้ในการเลี้ยงสัตว์ในทางอุตสาหกรรม
เรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ชื่อ...............................................................................เลขที่........................
ทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ใบงานที่ 1
เรื่องปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1) นักเรียนคิดว่า ทำไมมนุษย์และสัตว์ต้องกินอาหาร
2) สิ่งใดในภาพมีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์บ้าง
3) สัตว์ต้องการอาหารในการดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์หรือไม่ อย่างไร
4) ร่างกายของนักเรียนเป็นอย่างไร
5) ร่างกายของนักเรียนมีการเจริญเติบโตหรือไม่ แล้วนักเรียนคิดว่า “สิ่งใดบ้างที่ทำให้ร่างกายของนักเรียนมีการเจริญเติบโต”
6) ในวันที่อากาศร้อน หากไม่มีน้ำเปล่า นักเรียนจะเลือกดื่มน้ำแตงโมปั่นหรือน้ำส้มปั่น เพราะเหตุใด
7) ปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์มีอะไรบ้าง
8) ประโยชน์ของปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์มีอะไรบ้าง
9) นักเรียนคิดว่า อาหารชนิดใดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
10) อาหารชนิดใดที่ทำให้เราอ้วน
ใบงานที่ 2
อาหารที่ฉันชอบ
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนวาดภาพอาหารที่นักเรียนชื่นชอบ พร้อมบอกชื่ออาหาร ส่วนประกอบของอาหาร และระบุว่าอาหารแต่ละชนิดอยู่ในหมู่ใด
1. ชื่ออาหาร......................................................................
2. ส่วนประกอบของอาหาร และระบุว่าอาหารแต่ละชนิดอยู่ในหมู่ใด
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
มนุษย์เราทุกคนเกิดมาต้องการดำเนินชีวิตและเจริญเติบโตอย่างมีความสุขซึ่งปัจจัย
ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์มีดังนี้
ปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
มนุษย์เรามีชีวิตอยู่รอดได้ ต้องอาศัยปัจจัยที่จำเป็นหลายอย่าง และปัจจัยที่จำเป็นที่สุดในการดำรงชีวิตของมนุษย์ คือ ปัจจัย 4 ซึ่งได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค
1. อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานเข้าไปแล้วเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตและไปซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ อาหารที่สำคัญและมีประโยชน์ต่อร่างกาย นำมาจัดเป็นหมวดหมู่ ได้ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้ประโยชน์แตกต่างกันไป ดังนั้น เราจึงควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน เพื่อร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์ นอกจากอาหารแล้ว น้ำ และอากาศก็เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญต่อร่างกายมากเช่นเดี่ยวกัน
2. เครื่องนุ่งห่ม เป็นสิ่งที่มนุษย์ให้สวมใส่ห่อหุ้มร่างกาย เพื่อป้องกันอากาศที่หนาวเย็น ลม แสงแดด และเพื่อความสุภาพเรียบร้อยสวยงาม เครื่องนุ่งห่มของคนแต่ละชาติก็จะแตกต่างกันไปตามประเพณีและวัฒนธรรม ตามสภาพแวดล้อม
3. ที่อยู่อาศัย มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาย่อมต้องการที่อยู่อาศัย เพื่อป้องกันความร้อน ความหนาว ลม แดด ฝน และอันตรายต่างๆ แต่ละคนมีที่อยู่อาศัยแตกต่างกัน ตามความต้องการของแต่ละคน เช่น ตึก บ้านเดี่ยว อาคาร คอนโดมิเนียม เป็นต้น
4. ยารักษาโรค เป็นสิ่งจำเป็นต่อร่างกายมนุษย์มาก เพราะมีประโยชน์ในการรักษาโรค และป้องกันโรค ยากรักษาโรคมีทั้งที่เป็นยาสมุนไพรจากธรรมชาติ และยาที่ได้จาการสังเคราะห์ขึ้น หรือที่เราคุ้นกัน คือ ยาแผนปัจจุบัน นั่นเอง
สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของมนุษย์ คือ อาหาร อากาศ น้ำ
- ร่างกายเราเจริญเติบโตได้ด้วยอาหาร ดังนั้น การรู้จักเลือกอาหารที่ดีมีประโยชน์และถูกส่วนตามที่ร่างกายต้องการ ถ้าเรารับประท่านอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ร่างกายเราก็จะไม่ได้รับประโยชน์จากอาหารนั้น บางครั้งก็อาจจะก่อโทษให้กับร่างกายอีกด้วย อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย คือ อาหารหลัก 5 หมู่ ดังนี้
- น้ำ เป็นสิ่งที่จำเป็นและร่างกายต้องการมาก เพราะน้ำเป็นส่วนประกอบที่มีมากที่สุดในร่างกาย มีมากกว่าร้อยละ 60 ของน้ำหนักตัวเรา น้ำเป็นส่วนประกอบของเลือด ทำให้ร่างกายชุ่มชื้น ช่วยนำอาหารก๊าซออกซิเจน และสารต่างๆ ที่มีประโยชน์ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ช่วยขับถ่ายของเสีย และช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ เมื่อร่างกายมีความร้อนมากเกินไป จะระบายความร้อนออกมาในรูปเหงื่อ และปัสสาวะ ดังนั้น เราจึงควรดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 7-8 แก้ว
- อากาศ เป็นสิ่งที่สำคัญต่อมนุษย์เราเป็นอย่างมาก อากาศที่เราใช้หายใจต้องเป็นอากาศที่บริสุทธิ์ คือ ก๊าซออกซิเจน ถ้าเราได้รับอากาศที่บริสุทธิ์จะทำให้ร่างกายสดชื่น แข็งแรง
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์
คนและสัตว์มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ ซึ่ง สิ่งเร้า หมายถึง สิ่งที่เป็นเหตุให้มนุษย์หรือสัตว์แสดงพฤติกรรมออกมาร่างกายของเรามีอวัยวะที่ทำหน้าที่รับความรู้สึกและตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งอวัยวะต่างๆ นี้ ได้แก่
- ตา รับความรู้สึกและตอบสนองต่อการมองเห็น
- จมูก ทำหน้าที่ ดมกลิ่น
- ปากและลิ้น ทำหน้าที่ รับรส
- หู ทำหน้าที่ ฟัง
- ผิวหนัง ทำหน้าที่ รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มาสัมผัส ซึ่งอวัยวะรับความรู้สึกและตอบสนองต่อสิ่งเร้านี้ มีสมองที่เป็นระบบประสาทอยู่ภายในศีรษะของเรา เป็นศูนย์กลางควบคุมการรับความรู้สึกและการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสิ่งที่มากระตุ้น มีทั้งสิ่งเร้าภายใน คือ ฮอร์โมน และสิ่งเร้าภายนอก เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส เป็นต้น
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น การกะพริบตาเมื่อโดนของหรือนิ้วทิ่มตา การชักมือออกเมื่อแตะของร้อนๆ หรือน้ำลายไหลเมื่อเห็นอาหารน่ารับประทาน เป็นต้น
ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า การดำรงชีวิตของคนเรานั้น ต้องอาศัยปัจจัยที่สำคัญหลายอย่างเพื่อให้ชีวิตดำรงและเจริญเติบโตอยู่ได้ คือ
- ปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เรียกว่า ปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค
- สิ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของคนเรา ได้แก่ อากาศ น้ำ อาหาร
- อาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย คือ อาหารหลัก 5 หมู่ คือ
หมู่ที่ 1 ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วประเภทต่างๆ
หมู่ที่ 2 ได้แก่ ข้าว แป้ง ข้าวโพด เผือก มัน และน้ำตาล
หมู่ที่ 3 ได้แก่ ผักชนิดต่างๆ
หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผลไม้ชนิดต่างๆ
หมู่ที่ 5 ได้แก่ ไขมันจากพืชและสัตว์
- การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์เรา คือ การผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ปาก และผิวหนัง
ใบงานที่ 3
ข้อมูลของสัตว์เลี้ยง
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลของสัตว์เลี้ยง
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ...................................................................................... เลขที่..........
2. ชื่อ...................................................................................... เลขที่..........
3. ชื่อ...................................................................................... เลขที่..........
4. ชื่อ...................................................................................... เลขที่..........
5. ชื่อ...................................................................................... เลขที่..........
ใบงานที่ 4
การเจริญเติบโตของปลาหางนกยูง
ชื่อ ชั้น เลขที่
ตารางบันทึกการเจริญเติบโตของปลาหางนกยูง
สัปดาห์ วันที่ ลักษณะของปลาหางนกยูง สัปดาห์ วันที่ ลักษณะของปลาหางนกยูง
สัปดาห์ที่ 1 1 สัปดาห์ที่ 3 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
สัปดาห์ที่ 2 1 สัปดาห์ที่ 4 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
แผนภาพแสดงวัฏจักรชีวิตของปลาหางนกยูง
สรุปผลการทดลอง
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ใบงานที่ 5
วัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาเขียนวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชื่อสัตว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ ลักษณะ การออกลูก จำนวนระยะ
...............
.........................
.............................................................................................................................................................................................................
...............
.........................
.............................................................................................................................................................................................................
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
2. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
3. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
4. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
5. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
ใบงานที่ 6
วัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชื่อ ชั้น เลขที่
วัฏจักรชีวิตของ...................................................
คำชี้แจง : ให้นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างแบบจำลอง พร้อมบอกประโยชน์และวิธีการดูแลรักษาวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ประโยชน์ของสัตว์
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วิธีการดูแลรักษาวัฏจักรชีวิตของสัตว์
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
2. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
3. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
4. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
5. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
ใบงานที่ 7
วัฏจักรชีวิตของปลานิล
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านข้อความวัฏจักรชีวิตของปลานิล แล้วตอบคำถาม
1. วัฏจักรชีวิตของปลานิล มีกี่ระยะ อะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพอธิบายวัฏจักรชีวิตของปลานิล
วัฏจักรชีวิตของสัตว์
ความหมาย วงจรชีวิตของสัตว์ หมายถึง ชีวิตการเจริญเติบโตของสัตว์ที่เจริญเติบโตต่อเนื่องกันมาอย่างเป็นระเบียบ การเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิดจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในการเจริญเติบโตเช่น กบ ตอนแรกมาจากแม่ครั้งแรกจะเป็นไข่ หลังจากนั้นจะเปลี่ยนจากไข่กลายเป็นลูกอ๊อด เมื่อโตขึ้นมาอีกหน่อยหางจะหดลงแล้วขึ้นมาหากินบนบกจนกลายเป็นกบ
Metamorphosis หมายถึง การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญเติบโตได้แก่ สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก และแมลงเกือบทุกชนิด การเปลี่ยนแปลงรูปร่างมี 3 แบบ
การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ชั้น (Complete Metamorphosis) เมตามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ขั้น คือ ไข่ (egg) ตัวอ่อน (larva) ดักแด้ (pupa) ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ ยุง ผีเสื้อ ผึ้ง มด ต่อ แตน ไหม แมลงวัน ด้วง
การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไม่ครบ 4 ชั้น (Incomplete Metamorphosis) เมตามอร์โฟซีสแบบไม่สมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไม่ครบขั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ ไข่ (egg) ตัวอ่อนในน้ำ (naiad) ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ แมลงปอ ชีปะขาว จิงโจ้น้ำ
การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบค่อยเป็นค่อยไป (Gradual Metamorphosis)
เมตามอร์โฟซีสแบบค่อยเป็นค่อยไป คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างที่ละน้อยไม่ครบขั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ ไข่ (egg) ตัวอ่อน (mymph) ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ แมลงสาบ ตั๊กแตน จิ้งหรีด จักจั่น มวนต่าง ๆ เหา ปลวก ไร เรือด เพลี้ย
การเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ (Ametamorphosis) การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญเติบโต ตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อนคลาน สัตว์ปีก แมลงบางชนิด เช่น ตัวสองง่าม ตัวสามง่าม แมลงหางดีด
แบบทดสอบหลังเรียน
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดประกอบด้วยอาหารครบ 5 หมู่
ก. ไข่ดาว ไส้กรอก
ข. โจ๊กหมู ขนมปัง
ค. ข้าวเหนียว ส้มตำ
ง. ต้มจืดตำลึงหมูสับ ข้าวเปล่า
2. บริเวณใดที่ควรหลีกเลี่ยงเพราะมีอากาศไม่บริสุทธิ์
ก. ริมชายทะเล
ข. บริเวณทุ่งนา
ค. ริมถนนที่มีรถติด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
3. สิ่งใดที่ช่วยให้ร่างกายของคนเจริญเติบโต
ก. อาหาร ข. อากาศ
ค. น้ำ ง. แสง
4. วัฏจักรของผีเสื้อมีกี่ระยะ
ก. 1 ระยะ ข. 2 ระยะ
ค. 3 ระยะ ง. 4 ระยะ
5. ใน 1 วัน เราควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยกี่แก้ว
ก. 1-2 แก้ว
ข. 3-4 แก้ว
ค. 6-8 แก้ว
ง. กี่แก้วก็ได้
6. สัตว์ในข้อใดมีวัฏจักรชีวิตต่างจากพวก
ก. ผึ้ง ข. ไก่
ค. ยุง ง. ต่อ 7. สิ่งใดเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ก. อาหารและน้ำ
ข. อาหาร น้ำ และแสง
ค. อาหาร น้ำ และอากาศ
ง. อาหาร น้ำ อากาศ และแสง
8. สิ่งใดถ้าเราขาดเพียงไม่กี่นาทีจะทำให้ตายได้
ก. อากาศ ข. อาหาร
ค. น้ำ ง. แสง
9. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ในการศึกษาวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ก. เพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ
ข. เพื่อใช้ในการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่างๆ
ค. เพื่อใช้กำจัดสัตว์บางชนิดที่เป็นศัตรูพืช
ง. เพื่อใช้ในการเลี้ยงสัตว์ในทางอุตสาหกรรม
10.
จากแผนภาพ เป็นวัฏจักรชีวิตของสัตว์ชนิดใด
ก. ผึ้ง
ข. ปลา
ค. กวาง
ง. แมลงปอ
เรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ชื่อ...............................................................................เลขที่........................
ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
แบบบันทึกคะแนน
การทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน และแบบฝึกทักษะ
เรื่องชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ชื่อ........................................................................................ชั้น..........................................เลขที่....................
โรงเรียน............................................................................
สังกัด........................................................................
แบบทดสอบ/แบบฝึก คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ
แบบทดสอบก่อนเรียน 10
แบบทดสอบหลังเรียน 10
แบบฝึกทักษะใบงานที่ 1-7 70
รวมคะแนนทั้งหมด 90
ลงชื่อ......................................................ครูผู้สอน
( ....................................................... )
ตำแหน่ง................................................
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2544). โครงงานวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ และคณะ. (2544). กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.
. (2547). วิทยาศาสตร์ ป.3 ชุดปฏิรูปวิธีการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร :
บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.
ไสว ฟักขาว. (2540). โครงงานวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : เอมพันธุ์.
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/ หลังเรียน
ข้อ ก่อนเรียน หลังเรียน
1 ง ง
¬2 ค ค
3 ก ก
4 ค ง
5 ค ค
6 ก ข
7 ก ค
8 ข ก
9 ง ก
10 ค ข
แนวคำตอบบันทึกผลกิจกรรม /
ใบงาน
เฉลย ใบงานที่ 1
ปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1) นักเรียนคิดว่า ทำไมมนุษย์และสัตว์ต้องกินอาหาร
(แนวตอบ มนุษย์และสัตว์ต้องกินอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโตและดำรงชีวิตอยู่ได้)
2) สิ่งใดในภาพมีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์บ้าง
(แนวตอบ อาหาร)
3) สัตว์ต้องการอาหารในการดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์หรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ สัตว์ต้องการอาหารในการดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์ เพราะสัตว์ต้องการอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต)
4) ร่างกายของนักเรียนเป็นอย่างไร
(แนวตอบ ขึ้นอยู่กับน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียน)
5) ร่างกายของนักเรียนมีการเจริญเติบโตหรือไม่ แล้วนักเรียนคิดว่า “สิ่งใดบ้างที่ทำให้ร่างกายของนักเรียนมีการเจริญเติบโต”
(แนวตอบ ร่างกายมีการเติบโตขึ้น เพราะการรับประทานอาหาร)
6) ในวันที่อากาศร้อน หากไม่มีน้ำเปล่า นักเรียนจะเลือกดื่มน้ำแตงโมปั่นหรือน้ำส้มปั่น เพราะเหตุใด
(แนวตอบ น้ำแตงโมปั่น เพราะ แตงโมเป็นผลไม้ที่มีน้ำมากและมีรสชาติหวาน เมื่อเราดื่มน้ำแตงโมปั่นที่เย็น ๆ และหวาน จะทำให้รู้สึกสดชื่นมากขึ้น
น้ำส้มปั่น เพราะ เราสามารถนำส้มมาปั่น เมื่อดื่มน้ำส้มที่เย็นจะทำให้เราไม่กระหายน้ำ)
7) ปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์มีอะไรบ้าง
(แนวตอบ อาหาร น้ำ และอากาศ)
8) ประโยชน์ของปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์มีอะไรบ้าง
(แนวตอบ อาหาร ช่วยให้ร่างกายของเราเจริญเติบโต แข็งแรง และดำรงชีวิตอยู่ได้
น้ำ ช่วยทำให้ร่างกายของเราทำงานได้ตามปกติ ช่วยในการลำเลียงและขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
อากาศ เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ เราต้องการอากาศในการหายใจ เพราะแก๊สออกซิเจนที่อยู่ในอากาศมีความจำเป็นต่อร่างกายของเรา ทำให้ระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทำงานได้ตามปกติ)
9) นักเรียนคิดว่า อาหารชนิดใดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
(แนวตอบ เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผัก ผลไม้)
10) อาหารชนิดใดที่ทำให้เราอ้วน
(แนวตอบ อาหารที่มีแป้งและไขมันมากเกินไป)
เฉลย ใบงานที่ 4
การเจริญเติบโตของปลาหางนกยูง
ชื่อ ชั้น เลขที่
ตารางบันทึกการเจริญเติบโตของปลาหางนกยูง
สัปดาห์ วันที่ ลักษณะของปลาหางนกยูง สัปดาห์ วันที่ ลักษณะของปลาหางนกยูง
สัปดาห์ที่ 1 1 สัปดาห์ที่ 3 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
สัปดาห์ที่ 2 1 สัปดาห์ที่ 4 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
แผนภาพแสดงวัฏจักรชีวิตของปลาหางนกยูง
สรุปผลการทดลอง
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
เฉลย ใบงานที่ 5
วัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาเขียนวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชื่อสัตว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ ลักษณะ การออกลูก จำนวนระยะ
...............
.........................
.............................................................................................................................................................................................................
...............
.........................
.............................................................................................................................................................................................................
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
2. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
3. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
4. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
5. ชื่อ................................................................................. เลขที่..........
เฉลย ใบงานที่ 7
วัฏจักรชีวิตของปลานิล
ชื่อ ชั้น เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านข้อความวัฏจักรชีวิตของปลานิล แล้วตอบคำถาม
1. วัฏจักรชีวิตของปลานิล มีกี่ระยะ อะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพอธิบายวัฏจักรชีวิตของปลานิล
ใบความรู้ที่ 1 ทักษะการสังเกต
1. การสังเกตเชิงคุณลักษณะ เป็นการสังเกต
ที่สามารถบอกลักษณะรูปร่าง ของสิ่งที่สังเกตและคุณสมบัติ
ประจำตัวของสิ่งต่างๆ โดยไม่ต้องบอกปริมาณ ซึ่งได้แก่
บอกสี กลิ่น รส เสียง และความรู้สึกต่อผิวกายต่างๆ
2. การสังเกตเชิงปริมาณ เป็นการสังเกตที่ได้รายละเอียดมากยิ่งขึ้น
ซึ่งจะบอกออกมาเป็นปริมาณต่างๆ เช่น ความยาว น้ำหนัก ความดัน
แรง ซึ่งค่าต่างๆ สามารถบอกรายละเอียด ออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น
น้ำขวดนี้มีปริมาตร 125 มิลลิลิตร แอปเปิ้ลผลนี้มีน้ำหนัก 20 กรัม เป็นต้น
3. การสังเกตเชิงเปรียบเทียบ เป็นการสังเกตสิ่งหนึ่งเปรียบเทียบกับ
อีกสิ่งหนึ่งซึ่งอาจเปรียบเทียบ ในลักษณะที่ไม่ระบุเป็นตัวเลข หรือ
เป็นตัวเลขก็ได้ เช่น น้ำขวดนี้ใสกว่าน้ำขวดนั้น หรือน้ำขวดเล็ก 2 ขวด
เท่ากับน้ำขวดใหญ่ 1 ขวด
4. การสังเกตเชิงการเปลี่ยนแปลง เป็นการสังเกตสิ่งต่างๆ
ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เช่น น้ำขวดนี้เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ
จะ