การพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมฯ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ
1) เพื่อศึกษาความต้องการและแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
2) เพื่อสร้างรูปแบบการการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
4) เพื่อประเมินรูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ โดยการพัฒนารูปแบบการการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ มี 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการและแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ขั้นตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินรูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการศึกษาความต้องการและแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ครูผู้สอนมีความต้องการดำเนินงานกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา อยู่ในระดับมากทุกด้าน และแนวทางการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา ได้แก่ 1) ควรมีรูปแบบการบริหารโดยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน 2) ควรมีคณะกรรมการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา จากบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างหลากหลาย 3) ควรกำหนดขอบข่ายงานกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา และ 4) ควรมีกระบวนการบริหารที่เป็นระบบ
2. ผลการสร้างรูปแบบรูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ที่สร้างขึ้นมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) จุดมุ่งหมายของรูปแบบ 2) คณะกรรมการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา 3) ขอบข่ายงานบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา และ4) กระบวนบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
4. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ประกอบด้วย
4.1 ผลการแก้ปัญหาผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหาในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปีการศึกษา 2562 สามารถแก้ไขปัญหาได้ ร้อยละ 100.00
4.2 ผลการสอบถามความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนและผู้เรียน ที่มีต่อรูปแบบการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มมีปัญหา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ โดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก