LASTEST NEWS

04 ก.ย. 2567ล่าสุด..ท้องถิ่น มีตำแหน่งว่าง เปิดสอบ 6,238 อัตรา ม.บูรพา ออกข้อสอบ คาดว่า มีผู้สมัครมากกว่า 5แสนคน 03 ก.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ (ต่อ) 03 ก.ย. 2567สพฐ.ปรับโฉมการประชุม ผอ.สพท.ทุกคนต้องโชว์ผลงาน 03 ก.ย. 2567โรงเรียนวัดคิรีวิหาร(สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกประถมศึกษา หรือวิชาเอกภาษาไทย เงินเดือน 15,000.-บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 5 ก.ย.2567 03 ก.ย. 2567ด่วน!!! สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เปิดสอบตำรวจ 1,530 อัตรา รับสมัคร 12-20 ก.ย.2567 03 ก.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 02 ก.ย. 2567( ไม่มีวุฒิครูก็สมัครได้ ) เครือโรงเรียนมารีวิทย์ ประกาศรับสมัครครู 33 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 30 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกพลศึกษา เงินเดือน 8,000 บาท ผ่านทดลองงาน 6 เดือน รับ 8,500 บาท สมัคร 2-13 ก.ย.2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนวัดแปลงเกต รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกภาษาอังกฤษหรือวิชาเอกทั่วไป เงินเดือน 15,800.- บาท ตั้งแต่วันที่ 16-20 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567สพม.ปราจีนบุรี นครนายก รับสมัครพนักงานราชการครู จำนวน 6 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 6-12 กันยายน 2567

รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้

usericon

ชื่อเรื่อง     รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริม
ความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ผู้ศึกษา ณัฐติยา เหล่าโสภา

ปีที่ศึกษา 1/2562        
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อใช้และศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยศึกษาผลดังนี้ (2.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนกับหลังการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (2.2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 (2.3) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนกับหลังการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (2.4) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กับเกณฑ์ร้อยละ 70

ผลการวิจัยพบว่า
    1. รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีชื่อว่า PACPRAA Model มีกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมความพร้อม (Preparation: P) 2) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis: A) 3) ขั้นสร้างชิ้นงาน (Creation: C) 4) ขั้นนำเสนอผลงาน (Presentation: P) 5) ขั้นสะท้อนความคิด (Reflection: R) 6) ขั้นเรียบเรียงเรื่องใหม่ (Arrangement: A) 7) ขั้นประเมินผล (Assessment: A) ผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า รูปแบบการเรียนการสอน ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก ( = 4.62, S.D. = 0.32) และมีค่าดัชนีประสิทธิผลร้อยละ 73.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำร้อยละ 70

2. ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่า 1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 3) นักเรียนมีพัฒนาการทักษะการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทยหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการเสริมศักยภาพที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในทุกประเด็นของการประเมิน และนักเรียนมีทักษะการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 4) นักเรียนมีทักษะการอ่านเพื่อการสื่อสารภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^