การพัฒนาสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรี
แบบฝึกทักษะเรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหนองโกวิชาประสิทธิ์พิทยาคม
ผู้ศึกษา นางปราณี บุญจิ่ม
พุทธศักราช 2563
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ สร้าง หาประสิทธิภาพ ทดลองใช้และประเมินผล
การพัฒนารูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สร้างรูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกการศึกษา ขั้นตอนที่ 2 หาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือ 1)ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ชุดเดิม2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนหนองโกวิชาประสิทธิ์พิทยาคม ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ 1)แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.60 – 1.00 2) แบบประเมินแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80 – 1.00 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหนองโกวิชาประสิทธิ์พิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 10 แผน 12 ชั่วโมง ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.60 – 1.00 2) แบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ จานวน 10 ชุด ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80 – 1.00 3) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ เป็นข้อสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80 – 1.00 4) แบบประเมินพฤติกรรมการฝึกปฏิบัติหลังเรียน ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลของรูปแบบการสอนแบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ (ชุดเดิม)
ค
เครื่องมือที่ใช้ 1) แบบสัมภาษณ์ 2) แบบประเมินความคิดเห็นด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ ด้านความถูกต้อง และด้านการนาไปใช้ ซึ่งมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80 – 1.00
ผลการศึกษาพบว่า
1. รูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึก
ทักษะเรื่องการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความเหมาะสม ประกอบด้วย
1.1 แผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะเรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 10 แผน ดังนี้ 1) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(ทฤษฎีโน้ตดนตรีไทยเบื้องต้น) 2) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(ทฤษฎีโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้น)3) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การบรรเลงซอด้วง) 4) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การบรรเลงซออู้) 5) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การบรรเลงระนาดเอก) 6) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การเป่าขลุ่ย) 7) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ (การบรรเลงกีตาร์) 8) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การบรรเลงกีต้าร์เบส) 9) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การบรรเลงคีย์บอร์ด) 10) เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์(การปฏิบัติเครื่องกากับจังหวะ)แต่ละแผนมีองค์ประกอบดังนี้คือ 1) สาระสาคัญ 2) มาตรฐานการเรียนรู้
ช่วงชั้น 3) จุดประสงค์การเรียนรู้ 4) สาระการเรียนรู้ 5) บูรณาการกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 6) กระบวนการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน (เตรียมการ) ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสอน (เสนอบทเรียน,ศึกษากลุ่มย่อย,พัฒนาทักษะ) ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุปบทเรียนและตัดสินผลงานกลุ่ม 7) สื่อและแหล่งเรียนรู้ และ8) การวัดผลประเมินผล
1.2 แบบฝึกทักษะเรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เลือกเนื้อหาที่จะนามาสอนในครั้งนี้ คือ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ โดยแบ่งเนื้อหาที่ จะสอนออกเป็นตอนย่อย ๆ โดยกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบฝึกทักษะ 10 ชุด ซึ่งแต่ละชุดประกอบด้วย ดังนี้ 1)คาแนะนาในการใช้แบบฝึก 2) คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 3) จุดประสงค์การเรียนรู้ 4) กรอบการเรียนรู้แบบฝึกทักษะ(เนื้อหาสาระ) 5) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน/แบบทดสอบหลังเรียน/ทดสอบปฏิบัติ 6) เฉลยแบบทดสอบ และ7) บรรณานุกรม
2. ประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึกทักษะเรื่องการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาหรับ
ง
นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 3 : 9 : 21 ได้ประสิทธิภาพ 84.17/83.33 , 83.06/82.22,
83.75/83.10 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กา หนด คือ 80/80
3. การทดลองใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบ
แบบฝึกทักษะเรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสา หรับนัก เรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 กับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กา หนด ค่าดัชนีประสิทธิผลมีค่า
เท่ากับ 0.6934 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. การประเมินผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบแบบฝึก
ทักษะ เรื่อง การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สา หรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้านความเหมาะสม ด้านการนา ไปใช้ ด้านความถูกต้องและด้านประโยชน์อยู่ในระดับ
มากที่สุดทุกด้าน ( = 4.60, S.D.= 0.65, ( = 4.57, S.D. = 0.54), ( = 4.90, S.D.= 0.67),( = 4.90,
S.D. = 0.62) รวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.72, S.D.= 0.78) เช่นเดียวกัน ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นว่าการสอนในรูปแบบดังกล่าวมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นประโยชน์สามารถนาไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดียิ่ง