แผนการสอน เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ระดับชั้น ม.3 เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ว 2.2 ม.3/4 วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สาระสำคัญ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะต้องคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้รับผลประโยชน์อย่างสูงสุด และคงอยู่อย่างยั่งยืน
จุดประสงค์การเรียนรู้
วิเคราะห์การใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้
สาระการเรียนรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
สมรรถนะสําคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร : การอธิบาย การนำเสนอหน้าชั้น
2. ความสามารถในการคิด : วิเคราะห์ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
3. ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต : -
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : การทำงานร่วมกับผู้อื่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. หลักฐานการเรียนรู้
ภาระงาน / ชิ้นงาน : อธิบาย ออกแบบและนําเสนอแผนผังปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การวัดและประเมินผล:
ประเด็น วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ประเมิน
ด้าน K การตอบคำถาม คำถาม / ใบงาน ผ่าน 70%
ด้าน P การทดลอง แบบการทดลอง ผ่าน 70%
ด้าน A การสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤติกรรม ระดับ 2 ขึ้นไป
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
1.1 ครูทบทวนความรู้เดิมเรื่องสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (ภูมิคุ้มกันครู)
2. ขั้นเร้าความสนใจ
2.1 ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ชุดคําถาม Q1-Q2
2.2 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบของคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
3. ขั้นสํารวจและคนหา
3.1 นักเรียนแตละคนศึกษาใบความรูเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ(พอประมาณ)
3.2 ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4-5 คน โดยคละนักเรียน เกง กลาง ออน (พอประมาณ มีภูมิคุมกัน)
3.3 นักเรียนแตละกลุมกําหนดหนาที่ของสมาชิก (มิติดานสังคม และพอประมาณ) ปฏิบัติกิจกรรมเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใชคําถาม Q3-Q5
4. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
4.1 ตัวแทนแต่ละกลุ่มนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
4.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูใช้คําถาม Q6
4.3 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม
5. ขั้นขยายความรู
5.1 นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6. ขั้นประเมินผล
6.1 ครูใหนักเรียนแตละคนพิจารณาหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบางที่ยังไมเขาใจหรือยังมีขอ สงสัย (มีภูมิคุมกัน)
6.2 ครูทดสอบความเขาใจนักเรียน โดยใหนักเรียนทําใบกิจกรรม เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
7. ขั้นนําความรูไปใชประโยชน
7.1 ครูสนทนากับนักเรียนโดยใชคําถาม Q7-Q9
คําถามกระตุ้นคิดเพื่อปลุกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1 ให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งต่างๆ ที่พบในร่างกายที่แสดงออกถึงลักษณะทางพันธุกรรม ประมาณ 3 - 5 ชนิด (ความมีเหตุผล)
Q2 อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่ปรากฏในร่างกายเกี่ยวกับส่วนต่างๆ คําถามกระตุ้นคิดเพื่อปลุกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน
Q3 คนที่ห่อลิ้นได้ กับคนที่ห่อลิ้นไม่ได้ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
Q4 ดอกของถั่วลั่นเตาสีม่วงกับสีขาวแตกต่างกันอย่างไร
Q5 นอกจากสีของดอกถั่วลันเป็นสีม่วงกับสีขาวแล้ว ยังสามารถเป็นสีอื่นได้หรือไม่อย่างไร
Q6 นักเรียนจะสรุปผลการทำกิจกรรมได้ว่าอย่างไร คําถามกระตุ้นคิดเพื่อปลุกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน
Q7 นักเรียนนําความรู้เรื่องพันธุศาสตร์ของเมนเดลไปใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างไร (ความรู้ พอประมาณ)
Q8 ทําไมจึงต้องใช้ถั่วลันเตาในการทดลอง และมีหลักการสังเกตลักษณะของถั่วลันเตาอย่างไร (มีเหตุผล มีภูมคุ้มกัน)
Q9 นักเรียนใช้หลัก ปศพพ. ในการทํากิจกรรมอย่างไรบ้าง
ครูผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
ความรูที่ครูตองมีกอนสอน คุณธรรมของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนร
1. ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
2. หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
3. จิตวิทยาในการสอน
4. หลัก ปศพพ. 1. มีความรักเมตตาตอศิษย
2. มีความรับผิดชอบ
3. มีความยุติธรรม
4. ตรงตอเวลา
ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เนื้อหา เนื้อหาที่สอนเปนเรื่องที่อยูใกล
ตัว นักเรียนเหมาะสมกับวัย เพื่อใหนักเรียนนําความรู
ไปใชในการแกปญหาใน
ชีวิตประจําวัน ครูสรุปเนื้อหาในใบ
ความรูเพื่อใหนักเรียนได
ศึกษาเพิ่มเติม
เวลา
เวลาเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรม นักเรียนไดศึกษาขอมูล
ไดครบ วางแผนแบงเวลาแตละ
กิจกรรมใหเสร็จทันใน
เวลาที่กําหนด
การจัดกิจกรรม ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดฝก
ปฏิบัติสอดคลองกับเนื้อหา พื่อใหนักเรียนไดมีการ
ทํางานเปนกลุมมีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กิจกรรมตรงตาม
วัตถุประสงค
สื่อ/อุปกรณ ใบความรู/ใบงานพอเพียงกับ
จํานวนนักเรียน นักเรียนไดศึกษาขั้นตอน
ไดครบทุกคน ตรวจสอบความถูกตอง
และจํานวนของใบ
ความรู/ใบงานพรอม
แหล่งเรียนรู้ พื้นที่ของแหลงเรียนรูเพียงพอกับ
จํานวนนักเรียน นักเรียนไดลงพื้นที่และ
ไดลงปฏิบัติจริง ตรวจสอบความ
ปลอดภัยของสถานที่
กอนดําเนินกิจกรรม
ประเมินผล เครื่องมือในการประเมินผล
เหมาะสมกับวัยของผูเรียน ตองการประเมินผลการ
เรียนรูตามจุดประสงคที่
วางไว ออกแบบและตรวจสอบ
เครื่องมือการวัดและ
ประเมินผลใหครอบคลุม
สิ่งที่ตองการวัด
6 ผลที่เกิดขึ้นกับผูเรียนจากการจัดกิจกกรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6.1 ผูเรียนจะไดฝกคิดและฝกปฏิบัติตามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ความรูที่นักเรียนตองมีกอน คุณธรรมของนักเรียนที่จะทําใหการเรียนรูสําเร็จ
1. ความหมายของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
2. แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 1. มีวินัย
2. ตรงตอเวลา
3. มีความซื่อสัตย
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. กําหนดหนาที่ของกลุมให
เหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละคน 1. แบงงานตามความสามารถของ
สมาชิกเพื่อใหบรรลุเปาหมาย 1. มีการวางแผนการทํางานในกลุม
2. ศึกษาวิธีการทำกิจกรรมให
เข้าใจกอนทำกิจกรรม
6.2 ผูเรียนจะไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลง 4 มิติตามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ด้าน
องค์ประกอบ สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ ความรูในการใชอุปกรณการทํากิจกรรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ความรูในการจัดแบงหนาที่ภายในกลุมไดอยางเหมาะสม มีความรูในการปฏิบัติตนที่จะทํางานรวมกับผูอื่น มีความรูในการดูแล
รักษาความสะอาดของแหลงเรียนรู
ทักษะ ใชอุปกรณการทำกิจกรรมเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติไดอยางถูกตอง ทํางานรวมกับผูอื่นภายในกลุมที่ไดรับมอบหมายไดสําเร็จ รักษาความสะอาดของแหลงเรียนรู้
ค่านิยม เห็นคุณคาของอุปกรณที่นํามาใช ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกันมีความรับผิดชอบ
ตอการทํางานกลุม เห็นคุณคาของการดูแลแหลงเรียนรูใหสะอาดเปนระเบียบ
8. กิจกรรมเสนอแนะ (ถ้ามี)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…………
บันทึกผลหลังการสอน
ด้านความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์โดยร่วมกันแสดงความคิดเห็น ร่วมอภิปรายได้ดี
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- นักเรียนมีวินัยในการส่งงาน มีการเข้าเรียนสม่ำเสมอ ความตั้งใจ เหมาะสมกับเวลาที่กำหนดไว้
ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
..................................-...........................................................................................................................................