LASTEST NEWS

02 ก.ย. 2567( ไม่มีวุฒิครูก็สมัครได้ ) เครือโรงเรียนมารีวิทย์ ประกาศรับสมัครครู 33 อัตรา ตั้งแต่บัดนี้ - 30 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกพลศึกษา เงินเดือน 8,000 บาท ผ่านทดลองงาน 6 เดือน รับ 8,500 บาท สมัคร 2-13 ก.ย.2567 02 ก.ย. 2567โรงเรียนวัดแปลงเกต รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกภาษาอังกฤษหรือวิชาเอกทั่วไป เงินเดือน 15,800.- บาท ตั้งแต่วันที่ 16-20 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู รอบที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ (ต่อ) 02 ก.ย. 2567สพม.ปราจีนบุรี นครนายก รับสมัครพนักงานราชการครู จำนวน 6 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 6-12 กันยายน 2567 02 ก.ย. 2567​​​​​​​กรมพลศึกษา เปิดสอบบรรจุเข้ารับราชการ วุฒิปริญญาตรี เงินเดือน 16,500 - 19,120 บาท ตั้งแต่วันที่ 9-17 กันยายน 2567 01 ก.ย. 2567โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกสังคมศึกษา ตังแต่บัดนี้-4 กันยายน 2567 01 ก.ย. 2567โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกทั่วไป เงินเดือน 6,500.- บาท ตั้งแต่วันที่ 2-6 กันยายน 2567 01 ก.ย. 2567โรงเรียนบ้านนาเมือง รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย เงินเดือน 7,000.- บาท ตั้งแต่วันที่ 2-4 กันยายน 2567 31 ส.ค. 2567สพป.ขอนแก่น เขต 4 รับสมัครพนักงานราชการครู 12 อัตรา เงินเดือน 18,000- บาท ตั้งแต่วันที่ 9-13 กันยายน 2567

การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคปฯ

usericon

ชื่อผลงาน    การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3
ชื่อผู้วิจัย    สุวิมล หลีกภัย
ตำแหน่ง    ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
สถานที่ทำงาน    โรงเรียนเทศบาล ๓ (บ้านนาตาล่วง) สังกัดเทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ปีที่รายงาน 2561

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 2) ศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 4) เปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียน ก่อนและหลังใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 และ 5) ประเมินรับรองความเหมาะสมของรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ตามความคิดของครูอนุบาล ขั้นตอนการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 วงรอบ ได้แก่ วงรอบที่ 1 สร้างและหาคุณภาพรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ดำเนินการภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2560 วงรอบที่ 2 ทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ดำเนินการภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 วงรอบที่ 3 การประเมินผลการใช้คู่มือการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป 3 ดำเนินการภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผลการวิจัยพบว่า
1) ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อระดับคุณภาพคู่มือใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 โดยรวม
ในระดับมากที่สุด ( = 4.72, S.D. = 0.45)
2) ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 แบบหนึ่งต่อหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 80.21/86.11 แบบกลุ่มเล็ก มีค่าเท่ากับ 81.17/87.96 แบบภาคสนาม มีค่าเท่ากับ 81.08/87.96 และประสิทธิภาพจริง มีค่าเท่ากับ 82.47/89.04 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ทุกประการ
3) ดัชนีประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 แบบหนึ่งต่อหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 0.7000 แบบกลุ่มเล็ก มีค่าเท่ากับ 0.7254 แบบทดสอบแบบภาคสนาม ดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.7128 และเมื่อทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.7517 แสดงว่าการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป ทำให้นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 75.17
4) ผลการเปรียบคะแนนเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนหลังใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ P-D-R ตามแนวคิดไฮสโคป
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^