ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษ
การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดทำขึ้นนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้
1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนมีนบุรี สำนักงานเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการหารเศษส่วน เป็นชนิดเลือกตอบจำนวน 4 ตัวเลือก จำนวน 35 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Dependent Samples)
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้
1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.52/83.75
2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (E.I.) เท่ากับ 0.6851 คิดเป็นร้อยละ 68.51
3) นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน มีความสามารถในการหารเศษส่วนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
4) นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความพึงพอใจต่อการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 4.61 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.33
โดยสรุป แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเหมาะสม สามารถนำไปเป็นสื่อในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนการสอนและประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบต่างๆ ได้
การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดทำขึ้นนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้
1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนมีนบุรี สำนักงานเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการหารเศษส่วน เป็นชนิดเลือกตอบจำนวน 4 ตัวเลือก จำนวน 35 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Dependent Samples)
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้
1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.52/83.75
2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (E.I.) เท่ากับ 0.6851 คิดเป็นร้อยละ 68.51
3) นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน มีความสามารถในการหารเศษส่วนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
4) นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความพึงพอใจต่อการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 4.61 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.33
โดยสรุป แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเหมาะสม สามารถนำไปเป็นสื่อในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนการสอนและประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบต่างๆ ได้
[/blockquote]
การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดทำขึ้นนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้
1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนมีนบุรี สำนักงานเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการหารเศษส่วน เป็นชนิดเลือกตอบจำนวน 4 ตัวเลือก จำนวน 35 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Dependent Samples)
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้
1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.52/83.75
2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (E.I.) เท่ากับ 0.6851 คิดเป็นร้อยละ 68.51
3) นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน มีความสามารถในการหารเศษส่วนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
4) นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความพึงพอใจต่อการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 4.61 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.33
โดยสรุป แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเหมาะสม สามารถนำไปเป็นสื่อในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนการสอนและประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบต่างๆ ได้
[/blockquote]