การประเมินโครงการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์นักเรียนฯ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนนาสะไมพิทยาคม
สังกัดองค์การบริหารจังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย นายพุฒิเมธ พวงจันทึก
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา
สังกัด โรงเรียนนาสะไมพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ปีที่พิมพ์ 2560
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์นักเรียน ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนนาสะไมพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารจังหวัดอุบลราชธานี ครั้งนี้มี
วัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) ด้านปัจจัยน าเข้า
หรือทรัพยากร (Input Evaluation) ด้านกระบวนการ (Process Evaluation) และ ด้านผลผลิต
(Product Evaluation) โดยประยุกต์ใช้รูปแบบ CIPP Model ผลการประเมินจะเป็นสารสนเทศ
ส าหรับน าไปพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์นักเรียน โรงเรียนนาสะไมพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น กลุ่มเป้าหมาย ในการวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา
จ านวน 2 คน ครู จ านวน 20 คน นักเรียนจ านวน 366 คน ผู้ปกครองนักเรียน จ านวน 366 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 15 คน ประจ าภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
จ านวนทั้งสิ้น 756 คน จ าแนกเป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูลตอบแบบสอบถามจ านวน 211 คน ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 2 คน ศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย ครูจ านวน 20 คน ศึกษาจาก
กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน จ านวน 189 คน โดยผู้วิจัยได้ก าหนดขนาดของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม
ของนักเรียน จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ก าหนดจ านวนโดยใช้
ตารางส าเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 42-44) โดยแบ่งนักเรียนตาม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากนั้นจึงท าการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม
อย่างง่ายโดยวิธีการจับสลาก (Simple Random Sampling) จนครบทุกระดับชั้น และกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ จ านวน 18 คน ซึ่งเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหาร
สถานศึกษา ซึ่งเป็นรองผู้อ านวยการโรงเรียน จ านวน 1 คน ครู ซึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
จ านวน 8 คน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้แทนศิษย์เก่า จ านวน 3 คน และผู้ปกครองนักเรียน ซึ่งเป็น
ผู้ปกครองนักเรียนหัวหน้าระดับชั้นๆละ 1 คน จ านวน 6 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ
ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์เนื้อหาความ
คิดเห็นในประเด็นคล้ายคลึงกันแล้วสรุปเป็นแบบความเรียง
ข
ผลกำรวิจัย
1. ด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โครงการมีความเหมาะสมกับสภาพและความ
ต้องการของผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน และโครงการมีความเหมาะสมกับเวลาและสถานการณ์
ของสังคมไทยในปัจจุบัน และ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ โรงเรียนจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการ
ด าเนินงานตามโครงการ และโครงการมีความเหมาะสมกับสภาพกับศักยภาพและทรัพยากรของ
โรงเรียนและชุมชน และมีการประสานงานเพื่อท าให้เกิดความร่วมมือในการด าเนินงานตามโครงการ
2. ด้านปัจจัยน าเข้าหรือทรัพยากร พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมการด าเนินงานตามโครงการของ
ผู้บริหารโรงเรียน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ มีวัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวกในการ
ด าเนินการอย่างเพียงพอและเหมาะสม แผนการด าเนินการกิจกรรมมีความชัดเจน และส่งเสริมการ
ด าเนินงานของฝ่ายบริหาร ควรเพิ่มงบประมาณและจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ให้เพียงพอในบางกิจกรรม
โดยครูและบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนักถึงความส าคัญในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์นักเรียน
3. ด้านกระบวนการ พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาราย
กิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกกิจกรรม กิจกรรมที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ในภาพรวมมี
ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุก
กิจกรรม กิจกรรมที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กิจกรรมธนาคารความรู้ และกิจกรรมที่มีมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด
คือ กิจกรรมธนาคารศาสตร์พระราชา
4. ด้านผลผลิต พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย
คุณลักษณะ พบว่าคุณลักษณะที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ คุณลักษณะมีจิตสาธารณะ ส่วนคุณลักษณะที่มี
ค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ คุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้นักเรียนที่จบ
การศึกษาจากโรงเรียนมีคุณลักษณะอย่างน้อย 3 คุณลักษณะ ได้แก่ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีจิตสาธารณะ