การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึ
บ้านจะบังติกอ 2.3) ศึกษาพัฒนาการทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ของนักเรียนที่จัด
การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ ในช่วงระหว่างเรียน
5 ระยะๆ ละ 4 ชั่วโมง 2.4) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ และ 3) เพื่อขยายผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียนทั้งหมด 23 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยมีห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่มด้วยการจับฉลาก จำนวน 1 ห้องเรียนจากห้องเรียนทั้งหมด 2 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการขยายผลการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ซึ่งไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง จำนวนนักเรียนทั้งหมด 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติแบบไม่อิสระและแบบอิสระ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือองค์ประกอบเชิงหลักการและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบเชิงกระบวนการและองค์ประกอบเชิงเงื่อนไขการนำไปใช้ มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นกระตุ้นความสนใจ (W = Whip) 2) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (a = attention) 3) ขั้นศึกษาความรู้ (n = newness)
4) ขั้นฝึกฝนทักษะ (n = nifty) 5) ขั้นสรุปความรู้ (e = end) 7) ขั้นประยุกต์นำไปใช้ (e = employ)
ซึ่งมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.88/84.42 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80
2. ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ พบว่า
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ สูงขึ้นกว่าก่อนเรียนร้อยละ 14.67
2.2 ทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ สูงขึ้นกว่าก่อนเรียนร้อยละ 21.31
2.3 ทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ พัฒนาสูงขึ้นในช่วงระหว่างเรียน
2.4 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ อยู่ในระดับมากที่สุด (X-bar= 4.72, S.D. = 0.56)
3. การขยายผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Wannee Model ชุด ภูมิศาสตร์น่าศึกษา
เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านจะบังติกอ พบว่านักเรียนกลุ่มขยายผลมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้หลังการจัด
การเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และมีพัฒนาการทักษะการสร้างความรู้และการนำไปใช้ในช่วงระหว่างเรียน นอกจากนี้ความคิดเห็นที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด