ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของพื
เรื่อง การสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบสำคัญของดอก
วิภาพร ศิริมาตรxxxล
ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
โรงเรียนบ้านสำโรง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และให้นักเรียนสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมหลังจากเรียนจบแล้ว มีจำนวน 10 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบสำคัญของดอก
เล่มที่ 2 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก
เล่มที่ 3 เรื่อง การขยายพันธุ์พืช เล่ม 1
เล่มที่ 4 เรื่อง การขยายพันธุ์พืช เล่ม 2
เล่มที่ 5 เรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
เล่มที่ 6 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์
เล่มที่ 7 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์
เล่มที่ 8 เรื่อง การคัดเลือกพันธุ์สัตว์และเทคโนโลยีการขยายพันธุ์สัตว์
เล่มที่ 9 เรื่อง วัฏจักรชีวิตของสัตว์
เล่มที่ 10 เรื่อง ประโยชน์จากวัฏจักรชีวิตของสัตว์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ ประกอบไปด้วย คำแนะนำในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน คำแนะนำในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับครู ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ ใบกิจกรรม เนื้อหาการเรียนในแต่ละเรื่องย่อย แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรมและภาคผนวก โดยเนื้อหาแต่ละเรื่องย่อยมีตัวอย่างประกอบอย่างชัดเจน นักเรียนสามารถทำใบกิจกรรมและตรวจคำตอบที่ถูกต้องได้ด้วยตนเอง เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความเข้าใจ โดยมีเฉลยไว้ในภาคผนวกของชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนประกอบสำคัญของดอก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
วิภาพร ศิริมาตรxxxล
คำแนะนำในการใช้สำหรับนักเรียน
1. นักเรียนอ่านคำแนะนำในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนทำชุดกิจกรรม การเรียนรู้
2. นักเรียนอ่านตัวชี้วัดและจุดประสงค์ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อที่นักเรียนจะได้ทราบว่าเมื่อนักเรียนเรียนจบแล้ว นักเรียนจะได้ความรู้ในเรื่องใดบ้าง
3. ให้นักเรียนทำใบกิจกรรมเพื่อเป็นการฝึกทำ ซึ่งจะทำให้นักเรียนมีความชำนาญในเนื้อเรื่องย่อยนั้น ๆ แล้วหลังจากนั้นจึงศึกษาเนื้อหาและตัวอย่างในเนื้อเรื่องย่อย
4. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความรู้ที่นักเรียนได้เรียนมา ห้ามดูเฉลยก่อนทำแบบทดสอบ เมื่อนักเรียนทำแบบทดสอบเสร็จแล้วจึงค่อยตรวจตามเฉลยในภาคผนวก
5. นักเรียนสรุปผลการเรียนทั้งหมดเพื่อประเมินตนเอง และนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาตนเองต่อไป
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ……………………………………………………………………………….............. ก
คำแนะนำในการใช้สำหรับนักเรียน......................................................... ข
คำแนะนำในการใช้สำหรับครูผู้สอน........................................................ ค
ตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้........................................................... ง
ใบกิจกรรมที่ 1.1……………………………………………….……………………….... 1
ใบกิจกรรมที่ 1.2……………………………………………….……………………….... 2
ใบกิจกรรมที่ 1.3……………………………………………….……………………….... 4
ส่วนประกอบสำคัญของดอก................................................................... 5
โครงสร้างที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก........................................... 6
ประเภทของดอก..................................................................................... 6
กล้องจุลทรรศน์....................................................................................... 9
แบบทดสอบหลังเรียน............................................................................. 12
บรรณานุกรม........................................................................................... 13
ภาคผนวก................................................................................................ 14
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน..................................................................... 15
เฉลยหรือแนวคำตอบใบกิจกรรมที่ 1.1……….……………………....………….. 16
เฉลยหรือแนวคำตอบใบกิจกรรมที่ 1.2……….……………………....………….. 17
เฉลยหรือแนวคำตอบใบกิจกรรมที่ 1.3……….……………………....………….. 19
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
1. บอกส่วนประกอบสำคัญของดอกได้
2. บอกโครงสร้างที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของดอกได้
3. วาดรูปส่วนประกอบสำคัญของดอกและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ ของดอกจากของจริงได้
4. ระบุส่วนประกอบสำคัญของดอกและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ ของดอกจากของจริงได้
5. ทำแบบทดสอบหลังเรียนได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ด้านทักษะกระบวนการ
1. สังเกตและระบุส่วนประกอบสำคัญของดอกจากของจริงได้
2. จำแนกดอกไม้ว่าเป็นดอกครบส่วนหรือดอกไม่ครบส่วนโดยใช้ส่วนประกอบสำคัญของดอกเป็นเกณฑ์ได้
3. สังเกตและวาดรูปเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียจากของจริงได้
4. จำแนกดอกไม้ว่าเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือดอกไม่สมบูรณ์เพศโดยใช้เกสรของดอกเป็นเกณฑ์ได้
5. นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. ความสนใจใฝ่รู้
2. ความรับผิดชอบ
3. ความซื่อสัตย์
4. ความมุ่งมั่นอดทน
5. ความรอบคอบ
ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ศึกษาส่วนประกอบสำคัญของดอกไม้
จุดประสงค์
1. สังเกตและระบุส่วนประกอบสำคัญของดอกจากของจริงได้
2. บอกส่วนประกอบสำคัญของดอกได้
3. จำแนกดอกไม้ว่าเป็นดอกครบส่วนหรือดอกไม่ครบส่วนโดยใช้ส่วนประกอบสำคัญของดอก เป็นเกณฑ์ได้
*******************************************************************************************
คำชี้แจง นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาส่วนประกอบสำคัญของดอกไม้ 8 ชนิด ที่นำมาว่ามี ส่วนประกอบครบหรือไม่โดยให้ทำเครื่องหมาย ในตารางที่สำรวจพบ และทำเครื่องหมาย ในส่วนที่สำรวจไม่พบและสรุปเป็นความรู้
1. ตารางบันทึกผลการสำรวจ
ชื่อดอกไม้ ส่วนประกอบสำคัญของดอกไม้ ส่วนประกอบ
กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย ครบ ไม่ครบ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
2. สรุปผลการทำกิจกรรม
1. ส่วนประกอบที่สำคัญของดอก ได้แก่
1. ………………………… 2. ………………..……… 3. ………….……………… 4. ………………………
2. นักเรียนสามารถจำแนกดอกไม้ที่นำมาศึกษาโดยใช้ส่วนประกอบสำคัญของดอกเป็นเกณฑ์ได้
ดังนี้
ดอกที่มีส่วนประกอบสำคัญครบ
ในดอกเดียวกัน ดอกที่มีส่วนประกอบสำคัญไม่ครบ
ในดอกเดียวกัน
1. 5. 1. 5.
2. 6. 2. 6.
3. 7. 3. 7.
4. 8. 4. 8.
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ส่วนประกอบสำคัญของดอก
คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
2. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ 5 นาที
1. โครงสร้างที่สำคัญของพืชดอกที่มีหน้าที่ใน การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ คือโครงสร้างใด
ก. ใบ ข. ดอก
ค. ผล ง. ลำต้น
2. ส่วนประกอบที่สำคัญของดอกมีอะไรบ้าง
ก. กลีบเลี้ยง กลีบดอก ริ้วประดับ เกสร
ข. กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย
ค. เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย กลีบดอก
ง. ก้านดอก เกสรเพศผู้ ละอองเรณู
3. ดอกเปรียบเสมือนอวัยวะใดของสัตว์
ก. สมอง ข. กระดูก
ค. หัวใจ ง. ระบบสืบพันธุ์
4. เกสรเพศเมียประกอบด้วยส่วนใดบ้าง
ก. รังไข่ ละอองเรณู
ข. ออวุล อับเรณู
ค. ก้านชูอับละอองเรณู
ง. ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่ ออวุล
5. เกสรเพศผู้ประกอบด้วยส่วนใดบ้าง
ก. ออวุล รังไข่
ข. เซลล์ไข่ ละอองเรณู
ค. ก้านชูอับเรณู อับเรณู ละอองเรณู
ง. ยอดเกสรเพศผู้ ละอองเกสร รังไข่
ใช้ภาพที่กำหนดตอบคำถามข้อ 6 และ 7
6. หากแผนภาพด้านบนหมายถึงโครงสร้าง
ของดอกเรียงตามลำดับจากชั้นนอกสุด
ไปชั้นในสุด ชั้นใดมีหน้าที่ล่อแมลง
ก. 1 ข. 2
ค. 3 ง. 4
7. ขณะที่ดอกตูมชั้นใดมีความสำคัญมากที่สุด
ก. 1 ข. 2
ค. 3 ง. 4
8. มาลีจำแนกดอกไม้เป็น 2 กลุ่ม ดังตาราง
กลุ่ม A บวบ แตงกวา C กล้วยไม้
กลุ่ม B บัว กุหลาบ D มะเขือ
นักเรียนคิดว่า C และ D ควรเป็นพืชชนิดใด
ตามลำดับ
ก. ข้าว ผักบุ้ง
ข. ฟักทอง แตงโม
ค. พลับพลึง ตำลึง
ง. มะเขือเทศ มะระ
9. จากข้อที่ 8 มาลีใช้เกณฑ์ใดในการจำแนก
พืชออกเป็น 2 กลุ่ม
ก. ส่วนประกอบสำคัญของดอก
ข. สีและกลิ่นของดอก
ค. การมีหรือไม่มีเกสร
ง. วิธีการขยายพันธุ์
10. ข้อใดเป็นดอกสมบูรณ์เพศทั้งหมด
ก. ข้าวโพด บวบ ข. มะเขือ บัว
ค. ตำลึง มะม่วง ง. ฟักทอง ส้ม
บรรณานุกรม
กุณทรี เพ็ชรทวีพรเดชและคณะ. คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้สาระพื้นฐาน กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : บริษัท อักษรเจริญทัศน์ จำกัด, 2553.
ชนะ วันหนุน. การงานอาชีพและเทคโนโลยี งานเกษตร(พืช) ม.1 – ม.3. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ : บริษัท อักษรเจริญทัศน์ จำกัด, 2546.
นคร จิโรจพันธ์. คู่มือ แบบเรียน และแนวข้อสอบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)
หมวดวิชา เกษตรกรรม. กรุงเทพฯ : หจก.บรรณกิจเทรดดิ้ง, 2538.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดวิเคราะห์ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมที่ดีงาม ประเมินผลตรงตามตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ, 2552.
รัตนา ใจซื่อสมบูรณ์. เสริมสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป.5 ช่วงชั้นที่ 2.
กรุงเทพฯ : เดอะบุ๊คส์, 2547.
ศิริรัตน์ วงศ์ศิริและคณะ. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 14. นนทบุรี :
บริษัท ไทยร่มเกล้า จำกัด, 2552.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน 2551. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ, 2555.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว, 2547.
. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2547.
สำนักพิมพ์แม็ค. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แม็ค, 2554.
เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. แม่บทมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ วิทยาศาสตร์ ป.5.
นนทบุรี : บริษัท ไทยร่มเกล้า จำกัด, 2551.