การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT
โสรัจจ์ แสนคำ : การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารใชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา : 2557
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ตามเกณฑ์ 75/75 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT
3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล ๕ (พหลโยธินรามินทรภักดี) สังกัดเทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) มีห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย คือ1) ค่าสถิติพื้นฐาน 2) ค่าสถิติที (t-test independent)
ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ตามเกณฑ์ 75/75 2) นักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารในชีวิตประจำวันหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT อยู่ในระดับดี
โสรัจจ์ แสนคำ : การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารใชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา : 2557
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล ๕ (พหลโยธินรามินทรภักดี) สังกัดเทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) มีห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย คือ1) ค่าสถิติพื้นฐาน 2) ค่าสถิติที (t-test independent)
ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ตามเกณฑ์ 75/75 2) นักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารในชีวิตประจำวันหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT อยู่ในระดับดี
[/blockquote]