คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด
ส าหรับเด็กปฐมวัย
วิทยาศาสตร์มีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งในการด ารงชีวิตประจ าวันของมนุษย์ ตลอดชีวิต
ของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงมีความส าคัญ
ที่จะท าให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะ
ที่ส าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ
โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างขึ้น รวมถึงการน าความรู้
ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุมีผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
สมดุลและยั่งยืน
การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการพัฒนา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อตอบค าถามข้อสงสัยโลกธรรมชาติ เด็กเป็นเหมือนนักวิทยาศาสตร์
ตัวน้อย ๆ ที่มีความสงสัยใคร่รู้ มีค าถามเกี่ยวกับโลกธรรมชาติรอบตัว และเรียนรู้สิ่งที่อยู่รอบตัว
ผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดเวลา การกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กด้วยกระบวนการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงเป็นการตอบสนองต่อธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็ก
การให้เด็กได้เรียนรู้และฝึกฝนโดยการใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ตั้งแต่ระดับปฐมวัยนั้น จะส่งเสริมให้เด็กเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด
ขั้นพื้นฐาน จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งมีจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นลักษณะนิสัย
ของบุคคลที่ช่วยในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโลกรอบตัว และช่วยในการแก้ปัญหา
ในชีวิตประจำวันด้วย
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
ชั้นอนุบาลปีที่ 2 หน่วย ผลไม้ หัวเรื่อง ประเภทของผลไม้
……………………………………………………………………………...………
สาระส าคัญ
ผลไม้มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันไปตามประเภทของผลไม้นั้น ๆ เช่น
ประเภทผลเดี่ยว ผลรวมกันเป็นพวก หรือประเภทตามรูปร่างลักษณะ ขนาด และสี เป็นต้น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สังเกตและเปรียบเทียบความแตกต่างของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้
2. จัดหมวดหมู่ประเภทผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้
3. ส่งเสริมให้เด็กมีคุณลักษณะเจตคติทางวิทยาศาสตร์
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้ ประเภทของผลไม้
2. ประสบการณ์ส าคัญ
2.1 การสังเกตและเปรียบเทียบความแตกต่างของผลไม้ชนิดต่าง ๆ
2.2 การจัดหมวดหมู่ประเภทของผลไม้
ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม
1. ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.1 เด็กและครูร่วมกันสนทนาซักถามเกี่ยวกับผลไม้ชนิดต่าง ๆ โดยใช้ค าถามดังนี้
- เด็ก ๆ รู้จักผลไม้อะไรบ้าง
- ผลไม้มีรูปร่างลักษณะอย่างไร
1.2 เด็กและครูร่วมกันสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชื่อ รูปร่าง ลักษณะ
ขนาด และสีของผลไม้ชนิดต่าง ๆ
2. ขั้นอภิปรายก่อนท ากิจกรรม
2.1 เด็กสังเกตผลไม้ชนิดต่าง ๆ และสนทนาเกี่ยวกับความเหมือนความต่างของผลไม้
2.2 ครูน าเสนอปัญหา โดยใช้ค าถาม ดังนี้
- เด็ก ๆ คิดว่า ผลไม้แต่ละชนิดเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- ถ้าเราจะแยกประเภทของผลไม้ออกเป็นกลุ่มจะท าอย่างไร ใช้เกณฑ์อะไร
2.3 เปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิดเห็นหรือตั้งสมมติฐานก่อนท าการทดลอง
3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
3.1 แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน พร้อมแจกผลไม้ ได้แก่ แตงโม มะละกอ ขนุน
สับปะรด มะม่วง กล้วย ส้ม องุ่น ลองกอง ฯลฯ
3.2 แต่ละกลุ่มช่วยกัน ดังนี้
- วางแผนก าหนดเกณฑ์ในการแยกประเภทของผลไม้
- แยกประเภทของผลไม้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด
3.3 ครูคอยดูแล ชี้แนะข้อสงสัยหรือปัญหา ในการท ากิจกรรม
4. ขั้นอภิปรายหลังการเก็บรวบรวมข้อมูล
4.1 เด็กและครูร่วมกันอภิปรายผลเกี่ยวกับการแยกประเภทของผลไม้ชนิดต่าง ๆ
โดยใช้ค าถามน าดังนี้
- เด็ก ๆ ก าหนดเกณฑ์ในการแยกประเภทผลไม้อย่างไรบ้าง
- แต่ละกลุ่มช่วยกันแยกผลไม้ได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
4.2 ครูสรุปเกี่ยวกับการแยกประเภทของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ซึ่งอาจจะแยกตามประเภท
รูปร่าง ลักษณะ ขนาด สี รสชาติ ผลไม้เดี่ยว ผลไม้รวมเป็นพวง ผลไม้มีเมล็ดเดียวหรือมีหลายเมล็ดใน
ผลเดียวก็ได้
สื่อ / อุปกรณ์
ผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ได้แก่ แตงโม มะละกอ ขนุน สับปะรด มะม่วง กล้วย ส้ม องุ่น
ลองกอง ฯลฯ
การวัดและประเมินผล
1. วิธีการ
1.1 สังเกตพฤติกรรม
1.1.1 การสังเกตและเปรียบเทียบความแตกต่างของผลไม้ชนิดต่าง ๆ
1.1.2 การจัดหมวดหมู่ประเภทของผลไม้ชนิดต่าง ๆ
1.2 สังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์
2. เครื่องมือ ได้แก่ แบบสังเกต
แบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
ชั้นอนุบาลปีที่ 2 หน่วย ผลไม้ หัวเรื่อง ประเภทของผลไม้
***************************************************************************
ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน แล้วใส่ระดับคุณภาพในช่องรายการ
ที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
รวม
เฉลี่ย
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตและเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของผลไม้ชนิด
ต่าง ๆ ได้
2. จัดหมวดหมู่ประเภทของผลไม้
ชนิดต่าง ๆ ได้
การสังเกตและเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของผลไม้ชนิด
ต่าง ๆ ได้
3 = ปฏิบัติได้ถูกต้อง
2 = ปฏิบัติได้โดยการชี้แนะ
1 = ปฏิบัติไม่ได้/ไม่ถูกต้อง
การจัดหมวดหมู่ประเภทของ
ผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้
3 = ปฏิบัติได้ถูกต้อง
2 = ปฏิบัติได้โดยการชี้แนะ
1 = ปฏิบัติไม่ได้/ไม่ถูกต้อง
สรุประดับคุณภาพ
3-2.5 = 3 หมายถึง ดี
2.4-2 = 2 หมายถึง ปานกลาง
1.9-1 = 1 หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะเจตคติทางวิทยาศาสตร์
ชั้นอนุบาลปีที่ 2 หน่วย ผลไม้ หัวเรื่อง ประเภทของผลไม้
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ค าสั่ง ให้ใส่เครื่องหมาย เมื่อสังเกตได้ว่าผู้เรียนมีพฤติกรรมคุณลักษณะตามช่องรายการ
ที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
หมายเหตุ
1. สนใจใฝ่รู้
2. มุ่งมั่น อดทน รอบคอบ
3. รับฟังความคิดเห็นคนอื่น
4. รับผิดชอบต่องานที่ท า
5. มีเหตุผลในการแสดงความคิดเห็น
6. ท างานร่วมกันผู้อื่นได้
รวม
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
5-6 ข้อ = 3
หมายถึง ดี
3-4 ข้อ = 2
หมายถึง ปานกลาง
0-2 ข้อ = 1
หมายถึง ควรปรับปรุง
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
ภาพกิจกรรม
หน่วย ผลไม้ หัวเรื่อง ประเภทของผลไม้
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย