การประเมินโครงการพัฒนาความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร
โครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงอิชโปรแกรม : MEP ของ โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์ซึ่งเป็นโครงการที่ผ่านการประเมินด้าน ความพร้อมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรโดยใช้ภาษาอังกฤษ และ เป้าประสงค์ของโครงการ คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้บริหารโรงเรียนได้ร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามโครงการดังกล่าวให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้จึง ได้จัดทำโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงอิชโปรแกรม : MEP ขึ้น และเพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจึงได้ดำเนินการประเมินโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม : MEP ขึ้น โดยการประเมินโครงการครั้งนี้อาศัยรูปแบบการประเมินโครงการของ ดาเนียล แอล สตัฟเฟิลบีม (Danial L. Stufflebeam) หรือแบบจำลองซิปป์ (CIPP Model) โดยมีจุดมุ่งหมายของการประเมินประกอบด้วย
1. เพื่อประเมินความเหมาะสมของสภาวะแวดล้อมของโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม : MEP โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์
2. เพื่อประเมินความพร้อมของปัจจัย เบื้องต้นในการดำเนินงานของโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม : MEP โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์
3. เพื่อประเมินความเหมาะสมของกระบวนการดำเนินงานของโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม : MEP โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์
4. เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม : MEP โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์
สรุปผลการประเมินโครงการพัฒนาความสามารถการใชภาษาอังกฤษสื่อสารของนักเรียนใน โครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์ ไดดังนี้
1. ผลการประเมินบริบทของโครงการซึ่งมี 1 ตัวชี้วัด คือ ความเหมาะสมของสภาวะ แวดลอมพบวาอยูในระดับมากและผานเกณฑการประเมินเมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ความเหมาะสมกับความตองการของนักเรียนมีความเหมาะสมเปนอันดับ 1 สวนรายการที่มี ความเหมาะสมเปนอันดับสุดทายคือชวงเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมและเพียงพอ
2. ผลการประเมินปจจัยนําเขาของโครงการซึ่งมี 1 วชี้วัดคือความพรอมของปจจัยใน การดําเนินงานตามโครงการ พบวา อยูในระดับมากและผานเกณฑการประเมิน เมื่อพิจารณาแตละ รายการ พบวา ความพรอมของครูผูรับผิดชอบแตละกิจกรรมมีความพรอมเปนอันดับ 1 สวนรายการที่มีพรอมเปนอันดับสุดทาย คือ ผูมีสวนไดสวนเสียใหการสนับสนุนเปนอันดับสุดทาย
3. การประเมินกระบวนการของโครงการพบวาอยูในระดับมากซึ่งผานเกณฑการ ประเมินทั้ง 7 ตัวชี้วัด คือ
3.1 ขั้นเตรียมการดําเนินการตามโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา วัตถุประสงคของกิจกรรมมีความสอดคลองกับ วัตถุประสงคของโครงการมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปน อันดับสุดทายคือมีแหลงเรียนรูเพียงพอ
3.2 ขั้นการดําเนินกิจกรรม Multi Skill Record มีผลการประเมินโดยรวมอยู ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา แรงจูงใจใหรวมกิจกรรมมีความเหมาะสมมากที่สุด เปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีแหลงเรียนรูเพียงพอ
3.3 ขั้นการดําเนินกิจกรรม General English Proficiency Test มีผลการ ประเมินโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา กิจกรรมสงเสริมความสามารถ ในการใชภาษาอังกฤษมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับ สุดทาย คือ เวลาในการทําแบบทดสอบ
3.4 ขั้นดําเนินกิจกรรม Cultural & English Camp มีผลการประเมินโดย รวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการพบวาเรียนรูในบริบทของความเปนไทยผสมผสาน ความเปนสากลมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับ สุดทาย คือมีการดําเนิงานตามโครงการทุกกิจกรรม
3.5 ขั้นดําเนินกิจกรรมAcademic Enrichment Course มีผลการ ประเมินโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีทักษะการจัดการและ แกปญหามีความเหมาะสมมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีการดําเนินงานตามโครงการทุกกิจกรรม
3.6 ขั้นดําเนินงานจัดกิจกรรม Open House มีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนภาษา และวัฒนธรรมมีความเหมาะสมเปนอันดับ1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีกิจกรรมทัศนศึกษา
3.7 ขั้นประเมินผล และรายงานผลโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมากและผานเกณฑการประเมินเชนกัน เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีการนําผลการ ประเมินไปปรับและพัฒนาใหกาวหนความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความ เหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีเครื่องมือการประเมินแตละกิจกรรม
4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการพบวาอยูในระดับมากซึ่งผานเกณฑการประเมิน ทั้ง 6 ตัวชี้วัด คือ
4.1 ผลการปฏิบัติงานของครูในโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ครูมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินงานของโครงการ มีผลการปฏิบัติมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีผลการปฏิบัติเปนอันดับสุดทาย คือ ครูมีบทบาทใน การติดตามกํากับ ดูแลกระบวนการทํางานของนักเรียน
4.2 ความพึงพอใจของครูที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ไดรับความสะดวกในการเขารวมกิจกรรมเปนความพึง พอใจมากที่สุดอันดับ 1 และรายการที่เปนความพึงพอใจอันดับสุดทาย คือ ขั้นตอนกิจกรรมใน โครงการเปนไปตามกําหนด
.4.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีโอกาสไดใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพิ่มขึ้นเปน ความพึงพอใจมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่เปนความพึงพอใจเปนอันดับสุดทาย คือ ผูปกครองใหความสําคัญ และใหการสนับสนุนมากขึ้น
4.4 ความพึงพอใจของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดย รวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการพบวามีการรายงานความกาวหนาของโครงการอยาง ตอเนื่องเปนความพึงพอใจมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความพึงพอใจเปนอันดับสุดทาย คือ โครงการมีการวางแผนตามกิจกรรมที่วางไว
5. ผลการสอบวัดความรูภาษาอังกฤษของนักเรียนมีผลการสอบโดยรวมผานเกณฑ กําหนด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการสนทนา (Conversation) มีผลการสอบมากที่สุด และดานที่มีผลการสอบต่ำที่สุดคือดานไวยากรณ (Grammar) และเมื่อพิจารณาในแตละระดับ ชั้นพบวานักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 – 4 ผลการสอบมากที่สุด 3 มีและ ระดับชั้นที่มีผลการสอบต่ำที่สุด คือ ระดับชั้นอนุบาล
6. ผลการสัมภาษณการใชภาษาอังกฤษสื่อสารมีผลการสัมภาษณโดยรวมผานเกณฑ กําหนด เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาดานการออกเสียง (Pronunciation) มีผลการสัมภาษณมาก ที่สุดและดานที่มีผลการสัมภาษณต่ำที่สุด คือ ดานความคลองแคลว(Fluency) ซึ่งไมผานเกณฑ และ เมื่อพิจารณาในแตละระดับชั้น พบวา นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 – 4 มีผลการสัมภาษณ มากที่สุด คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และระดับชั้นที่มีผลการสัมภาษณที่สุด คือ ระดับชั้นอนุบาล
ขอเสนอแนะ
1. ดานบริบทของโครงการควรมีการทบทวนชวงเวลาในการจัดกิจกรรมแมวาจะมี การวางแผนการดําเนินกิจกรรมไวลวงหนาแตกระทบตอกิจกรรมของโรงเรียนเปนเพราะวาโรงเรียน จัดกิจกรรมใหนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ ชำนาญอนุเคราะห์ อยางหลากหลายโดยเฉพาะใน ภาคเรียนที่ 1 ของแตละปการศึกษา
2. ดานปจจัยนําเขาของโครงการ ความพรอมของผูมีสวนไดสวนเสีย สนับสนุนโครงการ นาจะสืบเนื่องจากผลกระทบทางดานเศรษฐกิจของผูปกครองและสถานภาพของผูปกครองซึ่งสวน ใหญมีกําลังสนับสนุนนอยโดยเฉพาะกิจกรรม Academic Enrichment Course ซึ่งมีคาใชจายสูงดวยควรเปดโอกาสใหผูปกครองไดเก็บออมงบประมาณสําหรับการนี้ลวงหนาไดหลายเดือนหรือหากองทุนสนับสนุนกิจกรรมนี้
3. ดานกระบวนการของโครงการซึ่งทุกกิจกรรมควรจัดหาแหลงเรียนรูใหหลากหลายใหผู มีสวนไดสวนเสียไดมีสวนในการจัดการและควรทําวิจัยตอยอดโดยการนําขอมูลจากการ ประเมินครั้งนี้ไปพัฒนาปรับปรุงใหโครงการประสบความสําเร็จยิ่งขึ้น
4.ดานผลผลิตของโครงการควรนําขอบกพรองในการสอบวัดความรูและการสัมภาษณใน
การ ใชภาษาอังกฤษสื่อสารมาปรับปรุงแกไข และควรมีเวทีการแขงขันความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษใหมากขึ้น จำนวน 7 ฉบับ และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร จำนวน 1 ฉบับ รวมเป็น 8 ฉบับ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร จำนวน 1 คน ครูในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP จำนวน 15 คน นักเรียนจำนวน 229 คน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษา 9 คน ผู้ปกครองนักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP จำนวน 229 คน รวมทั้งสิ้น 238 คน นอกนั้นยังเก็บข้อมูลการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โดยการสัมภาษณ์การใช้ภาษาอังกฤษ โดยครูเจ้าของภาษา (Native Speaker) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิต และเสนอค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ผลการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ และผลกาสอบการสัมภาษณ์การใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร
โดยสรุปผู้ประเมินเห็นว่า กำลังสนับสนุนของผู้ปกครอง ครู และกรรมการบริหารโรงเรียนจะส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารให้นักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP สู่ความเป็นเลิศได้อย่างแท้จริง