ชื่อเรื่อง การใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา ที่มีต
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยาง
พิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย ธัญณิชา ปุยฝ้าย
โรงเรียน ท่าขอนยางพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความสมารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียนด้วยชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 120 คน จากห้องเรียน 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน จำนวน 23 คน ดำเนินการวิจัยตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จำนวน 23 แผ่น 2) แผนการสอนเฉพาะบุคคล 3) ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ จำนวน 20 ชุด 4) แบบวัดความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน จำนวน 4 ฉบับ และ 5) แบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าดัชนีประสิทธิผล ค่าสถิตทดสอบ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม มีประสิทธิภาพ 91.32/91.76 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียน ระหว่างก่อนและหลังใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาสูงกว่าก่อนการใช้ชุดแบบฝึกการเขียน เชิงสร้างสรรค์ทางภาษา
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ ด้านลักษณะของชุดแบบฝึก ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งหากพิจารณาด้านลักษณะของแบบฝึก นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ แบบฝึกน่าสนใจ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ลำดับสุดท้าย คือ แบบฝึกช่วยให้ฉันสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ เป็นกิจกรรมที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ฉันได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ด้านประโยชน์ที่ได้รับ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ ฉันได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝึกด้วยตนเอง ทำให้ฉันมีความมั่นใจมากขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ ฉันสามารถนำความรู้จากการฝึกติดไปใช้ประโยชน์ในวิชาอื่น ๆ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยาง
พิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย ธัญณิชา ปุยฝ้าย
โรงเรียน ท่าขอนยางพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความสมารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียนด้วยชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 120 คน จากห้องเรียน 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน จำนวน 23 คน ดำเนินการวิจัยตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จำนวน 23 แผ่น 2) แผนการสอนเฉพาะบุคคล 3) ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ จำนวน 20 ชุด 4) แบบวัดความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน จำนวน 4 ฉบับ และ 5) แบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าดัชนีประสิทธิผล ค่าสถิตทดสอบ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม มีประสิทธิภาพ 91.32/91.76 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียน ระหว่างก่อนและหลังใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาสูงกว่าก่อนการใช้ชุดแบบฝึกการเขียน เชิงสร้างสรรค์ทางภาษา
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ ด้านลักษณะของชุดแบบฝึก ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งหากพิจารณาด้านลักษณะของแบบฝึก นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ แบบฝึกน่าสนใจ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ลำดับสุดท้าย คือ แบบฝึกช่วยให้ฉันสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ เป็นกิจกรรมที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ฉันได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ด้านประโยชน์ที่ได้รับ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ ฉันได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝึกด้วยตนเอง ทำให้ฉันมีความมั่นใจมากขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ ฉันสามารถนำความรู้จากการฝึกติดไปใช้ประโยชน์ในวิชาอื่น ๆ
[/blockquote]
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยาง
พิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย ธัญณิชา ปุยฝ้าย
โรงเรียน ท่าขอนยางพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความสมารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียนด้วยชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 120 คน จากห้องเรียน 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน จำนวน 23 คน ดำเนินการวิจัยตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จำนวน 23 แผ่น 2) แผนการสอนเฉพาะบุคคล 3) ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ จำนวน 20 ชุด 4) แบบวัดความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน จำนวน 4 ฉบับ และ 5) แบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าดัชนีประสิทธิผล ค่าสถิตทดสอบ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม มีประสิทธิภาพ 91.32/91.76 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียน ระหว่างก่อนและหลังใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาสูงกว่าก่อนการใช้ชุดแบบฝึกการเขียน เชิงสร้างสรรค์ทางภาษา
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ ด้านลักษณะของชุดแบบฝึก ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งหากพิจารณาด้านลักษณะของแบบฝึก นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ แบบฝึกน่าสนใจ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ลำดับสุดท้าย คือ แบบฝึกช่วยให้ฉันสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ เป็นกิจกรรมที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ฉันได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ด้านประโยชน์ที่ได้รับ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ ฉันได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝึกด้วยตนเอง ทำให้ฉันมีความมั่นใจมากขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ ฉันสามารถนำความรู้จากการฝึกติดไปใช้ประโยชน์ในวิชาอื่น ๆ
[/blockquote]
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยาง
พิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย ธัญณิชา ปุยฝ้าย
โรงเรียน ท่าขอนยางพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความสมารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียนด้วยชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 120 คน จากห้องเรียน 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน จำนวน 23 คน ดำเนินการวิจัยตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จำนวน 23 แผ่น 2) แผนการสอนเฉพาะบุคคล 3) ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ จำนวน 20 ชุด 4) แบบวัดความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน จำนวน 4 ฉบับ และ 5) แบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าดัชนีประสิทธิผล ค่าสถิตทดสอบ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม มีประสิทธิภาพ 91.32/91.76 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียน ระหว่างก่อนและหลังใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษาสูงกว่าก่อนการใช้ชุดแบบฝึกการเขียน เชิงสร้างสรรค์ทางภาษา
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีภาวะบกพร่องด้านการเขียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ทางภาษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ ด้านลักษณะของชุดแบบฝึก ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งหากพิจารณาด้านลักษณะของแบบฝึก นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ แบบฝึกน่าสนใจ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ลำดับสุดท้าย คือ แบบฝึกช่วยให้ฉันสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ เป็นกิจกรรมที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ฉันได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ด้านประโยชน์ที่ได้รับ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับที่ 1 คือ ฉันได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝึกด้วยตนเอง ทำให้ฉันมีความมั่นใจมากขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเป็นลำดับสุดท้าย คือ ฉันสามารถนำความรู้จากการฝึกติดไปใช้ประโยชน์ในวิชาอื่น ๆ
[/blockquote]