การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียน
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ชื่อผู้วิจัย นางธนาพร ชูเรือง
สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด
ปีที่วิจัย 2556
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริม
ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2)พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมอง
เป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3)ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4)ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริม
ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 29 คน ปีการศึกษา 2556 ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ด้วยการจับสลาก ใช้ห้องเรียนในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถทางการอ่านจับใจความ แบบวัดความสามารถในการคิดพื้นฐาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทีแบบไม่อิสระ (t-test แบบ Dependent Samples)และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1.การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่าน
จับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1พบว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กำหนดให้นักเรียนฝึกอ่านจับใจความ แล้วตอบคำถาม และจากการสัมภาษณ์ครู ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ควรให้นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นมีความสามารถ
ในการอ่านเพื่อจับใจความ โดยใช้นิทานที่มีเนื้อเรื่องที่สนุกสนาน ให้ความรู้ การคิดพื้นฐาน และปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ควบคู่กันไป สอดคล้องกับความต้องการ
ของนักเรียนที่ต้องการเรียนรู้ด้วยการอ่านโดยมีนิทานประกอบการเรียนรู้
2.รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียกว่า ORL-SCK-SEP มีองค์ประกอบคือ 1)หลักการ 2)วัตถุประสงค์ 3)กระบวนการจัดการเรียนการสอน
4)สาระหลัก 5)ระบบสังคม 6)หลักการตอบสนอง 7)สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 8)เงื่อนไขในการนำรูปแบบไปใช้ 9)การประเมินผล ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอน
9ขั้นตอนคือ 1)ขั้นกระตุ้นความสนใจ(Orientation:O)2)ขั้นเตรียมความพร้อม(Relate:R)3)ขั้นเรียนรู้สู่การคิด(Learning Think:L)4)ขั้นฝึกทักษะการคิด(Skill Think:S)5)ขั้นสร้างสรรค์ผลงาน(Create:C)6)ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (knowledge sharing:K)7)ขั้นสรุปความรู้(Summarize:S)8)ขั้นประเมินผล (Evaluation:E)9)ส่งเสริมเติมความรู้ (Promote:P)และรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถ
ด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.92/85.33 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ 80/80เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
3.ผลความสามารถทางการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐาน
ผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01ความสามารถในการคิดพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1อยู่ในระดับดีมาก และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
4.ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ที่มีต่อการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ
เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ชื่อผู้วิจัย นางธนาพร ชูเรือง
สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด
ปีที่วิจัย 2556
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริม
ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2)พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมอง
เป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3)ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4)ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริม
ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 29 คน ปีการศึกษา 2556 ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ด้วยการจับสลาก ใช้ห้องเรียนในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถทางการอ่านจับใจความ แบบวัดความสามารถในการคิดพื้นฐาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทีแบบไม่อิสระ (t-test แบบ Dependent Samples)และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1.การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่าน
จับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1พบว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กำหนดให้นักเรียนฝึกอ่านจับใจความ แล้วตอบคำถาม และจากการสัมภาษณ์ครู ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ควรให้นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นมีความสามารถ
ในการอ่านเพื่อจับใจความ โดยใช้นิทานที่มีเนื้อเรื่องที่สนุกสนาน ให้ความรู้ การคิดพื้นฐาน และปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ควบคู่กันไป สอดคล้องกับความต้องการ
ของนักเรียนที่ต้องการเรียนรู้ด้วยการอ่านโดยมีนิทานประกอบการเรียนรู้
2.รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียกว่า ORL-SCK-SEP มีองค์ประกอบคือ 1)หลักการ 2)วัตถุประสงค์ 3)กระบวนการจัดการเรียนการสอน
4)สาระหลัก 5)ระบบสังคม 6)หลักการตอบสนอง 7)สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 8)เงื่อนไขในการนำรูปแบบไปใช้ 9)การประเมินผล ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอน
9ขั้นตอนคือ 1)ขั้นกระตุ้นความสนใจ(Orientation:O)2)ขั้นเตรียมความพร้อม(Relate:R)3)ขั้นเรียนรู้สู่การคิด(Learning Think:L)4)ขั้นฝึกทักษะการคิด(Skill Think:S)5)ขั้นสร้างสรรค์ผลงาน(Create:C)6)ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (knowledge sharing:K)7)ขั้นสรุปความรู้(Summarize:S)8)ขั้นประเมินผล (Evaluation:E)9)ส่งเสริมเติมความรู้ (Promote:P)และรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถ
ด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.92/85.33 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ 80/80เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
3.ผลความสามารถทางการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐาน
ผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01ความสามารถในการคิดพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1อยู่ในระดับดีมาก และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
4.ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ที่มีต่อการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมองเป็นฐานผสมผสานการเรียนแบบร่วมมือ
เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความ การคิดพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
[/blockquote]